ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันสันติภาพ

16
สิงหาคม
2566
78 ปีวันสันติภาพไทย : เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เนื่องในวาระ 78 ปี วันสันติภาพไทย คุณรณดล นุ่มนนท์ ทายาทของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.แถมสุข นุ่มนนท์ ที่อนุญาตให้นำหนังสือเรื่อง เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ของอาจารย์แถมสุข ผู้ล่วงลับ มาตีพิมพ์เผยแพร่อีกครั้ง โดยบรรณาธิการเล่มได้คงต้นฉบับไว้ตามเดิม แต่ตัดส่วนภาคผนวกออกไป ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงสภาพการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ในห้วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งกองทัพญี่ปุ่นเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเมืองไทย โดยเฉพาะเรื่องนโยบายการสร้างชาติของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในยุคนั้น และเรื่องราวของขบวนการเสรีไทย
16
สิงหาคม
2566
75 ปีวันสันติภาพไทย : บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องในวาระ 75 ปี วันสันติภาพไทย และเพื่อเป็นการร่วมเฉลิมฉลองโอกาสครบ 10 รอบนักษัตรของนายปรีดี จึงได้มีการนำ บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 มาตีพิมพ์ใหม่อีกครั้ง ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงข้อเท็จจริงสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการ ที่แสดงให้เห็นความจงรักภักดีและความตั้งใจทำงานรับใช้ชาติของนายปรีดี และในตอนท้ายของเล่มยังมีบันทึกการจัดงานรำลึกวันสันติภาพไทยในปีที่ผ่านมา (ปีที่ 74) อีกด้วยด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2566
คำอธิบายชุดความคิดและหัวใจทางการเมืองของ 'ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ด้วยหลัก "สันติประชาธรรม" ซึ่งเน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติวิธีเพื่อให้ถึงพร้อมด้วยประชาธรรมของผู้คน ผ่านการวิเคราะห์แตกย่อยอุดมคติทางการเมืองและความปรารถนาที่ ศ.ดร.ป๋วยต้องการให้บังเกิดขึ้นและไหลเวียนภายในสังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' เขียนบทความนี้ขึ้นหลังจากที่ได้ติดตามข่าวของ MUT 2565 ที่ปรากฏตามสื่อต่างๆ ถึงเรื่องราวชีวิตครอบครัวที่บิดาและมารดาเป็นพนักงานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ กอปรกับเพิ่งผ่านพ้นช่วงวันสันติภาพไทย ทำให้ผู้เขียนพลันนึกถึงสมาชิกขบวนการเสรีไทยท่านหนึ่ง ผู้ซึ่งมีอาชีพปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานแผนกรักษาความสะอาดของเทศบาลนครกรุงเทพเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2564
ขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น และ เสรีไทยในจังหวัดตาก
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
Subscribe to วันสันติภาพ