Skip to main content

ข่าวสาร

วันที่ 23 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นต่อเนื่องเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
16 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 ที่มีการพูดถึงอยู่ ณ ขณะนี้
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2567 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดี พนมยงค์ นำโดย คุณปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้เข้าเยี่ยมชม และศึกษาศึกษากระบวนการทำงานของ BentoWeb ณ สำนักงานใหญ่ บริษัท ซีแมนทิค ทัช จำกัด เพื่อเรียนรู้วิธีการจัดเก็บและดูแลสินค้าให้กับผู้ใช้บริการ

บทความ

24
Apr
2567
การวิเคราะห์ของนักศึกษาและคำชี้แจงของท่านปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นว่าข้อเขียนของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และเป็นการบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์ของตนเอง มิใช่สัจจะทางสารคดี
23
Apr
2567
ข้อกล่าวอ้างของ พล.ท.ประยูรฯ เกี่ยวกับการล้มเลิกเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ขัดแย้งกับหลักฐาน ทำให้เชื่อว่าเป็นเรื่องที่ท่านแต่งขึ้นเอง ในขณะที่ข้อชี้แจงของ ปรีดี พนมยงค์ มีน้ำหนักและสอดคล้องกับหลักฐาน
บทความนี้อธิบายความหมายของศัพท์ไทย "ปฏิวัติ" "อภิวัฒน์" และ "วิวัฒน์" ตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ โดยเสนอให้ใช้ "อภิวัฒน์" แทน "Revolution" และ "วิวัฒน์" แทน "Evolution" พร้อมยกแนวคิดเลนินเรื่องวิธีสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งไม่ควรเป็นแนวทางตายตัว
ปลายชื่นชมระบบการศึกษาของฝรั่งเศสที่เปิดกว้างสำหรับประชาชนทุกเพศ วัย และอาชีพ รวมทั้งได้รับของขวัญจากลูกศิษย์ซึ่งแสดงถึงความประทับใจและความขอบคุณที่มีต่อปลาย
"Prakan Festival 2024" งานเทศกาลศิลปะ-วัฒนธรรมระดับชาติที่จัดขึ้นที่สมุทรปราการ ซึ่งเป็นเมืองปราการสำคัญทางทะเล ภายใต้การดำเนินงานของ TCEB และมูลนิธิหุ่นสายเสมา เพื่อสนองนโยบาย "ยุทธศาสตร์ Soft Power" และส่งเสริม "เศรษฐกิจสร้างสรรค์" ของประเทศ
นวนิยายเรื่อง "มาลัยสามชาย" ใช้ตัวละครผู้หญิงเป็นเครื่องมือเพื่อสะท้อนมิติทางการเมืองที่ซ่อนอยู่ในความเป็นไทย โดยตัวละครผู้หญิงเอง ก็ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองในการกำหนดตัวตนความเป็นไทยในช่วงเปลี่ยนผ่าน นวนิยายเรื่องนี้จึงไม่เพียงกล่าวถึงความรัก แต่ยังสะท้อนมิติทางการเมืองอย่างแยบยลผ่านตัวตนของตัวละครผู้หญิง
ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป
ฐานะของ “สมุดปกเหลือง” หรือ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” มีความน่าสนใจทั้งในบริบทประวัติศาสตร์และปัจจุบัน โดยมีการวิเคราะห์ทั้งในเชิงคุณูปการต่อสังคมและเชิงลบต่อระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองไทย แต่เมื่อพิจารณามาถึงผลทางเศรษฐกิจและการเมืองกลับพบว่า สมุดปกเหลืองมีคุณูปการต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาแนวคิดสังคมนิยมเศรษฐกิจไปจนถึงการนำหลักเศรษฐกิจบางประการมาวิเคราะห์ว่ามีลักษณะสอดรับกับแนวทางรัฐสวัสดิการ แล้วปรับใช้กับนโยบายของพรรคการเมือง
เค้าโครงเศรษฐกิจของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ต้องการปฏิรูปการกระจายการถือครองที่ดินแต่ถูกต่อต้าน ส่งผลให้โครงสร้างการถือครองที่ดินในไทยยังคงเหลื่อมล้ำสูงจนถึงปัจจุบัน แม้แนวคิดบางส่วนได้นำมาปฏิบัติในภายหลัง
"หมุดคณะราษฎร" เป็นสัญลักษณ์การอภิวัฒน์ 2475 ที่รัฐพยายามควบคุม แต่กลับทำให้เกิดกระแสรื้อฟื้นความทรงจำนี้ในสังคม สะท้อนการต่อสู้ระหว่างรัฐและประชาชนในการกำหนดประวัติศาสตร์
รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ที่ผสมผสานแคปิตัลิสม์และโซเซียลิสม์ เพื่อให้ประชาชนมีพอมีกิน งานทำ และความสุข โดยมีมติรับรองหลักการและมอบหมายให้จัดทำรายละเอียดเพิ่มเติม

หนังสือขายดี

ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564

สันติสุข โสภณสิริ บรรณาธิการ
240 หน้า
ราคา 195 บาท

เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก

หนังสือแนะนำ

หนังสือหายาก

ความเป็นอนิจจังของสังคม
เหลือ 12 เล่ม

แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม

ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม