Skip to main content

ข่าวสาร

16 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 ที่มีการพูดถึงอยู่ ณ ขณะนี้
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2567 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดี พนมยงค์ นำโดย คุณปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ กรรมการผู้จัดการสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้เข้าเยี่ยมชม และศึกษาศึกษากระบวนการทำงานของ BentoWeb ณ สำนักงานใหญ่ บริษัท ซีแมนทิค ทัช จำกัด เพื่อเรียนรู้วิธีการจัดเก็บและดูแลสินค้าให้กับผู้ใช้บริการ
มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ เข้าร่วมโครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยและการรำลึกขบวนการเสรีไทย ประจำปี 2567 ณ ห้องประชุม ดร.สมสักดิ์ และคุณหญิงปัทมา สีสวัสดิ์ตระกูล (NIDA)

บทความ

28
Mar
2567
ปรีดีพนมยงค์ทราบเรื่องร่าง พ.ร.บ. เทศบาล ในฐานะผู้ช่วยเลขานุการ แต่การพิจารณาล่าช้าด้วยความซับซ้อน ประสบปัญหาข้อขัดแย้งจากต่างประเทศ และไม่มีอำนาจกำหนดลำดับการพิจารณากฎหมายนี้
27
Mar
2567
โครงการดุสิตธานีและร่างกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2473 เป็นความพยายามของชนชั้นนำในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ยังไม่ใช่การปกครองท้องถิ่นแบบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ เนื่องจากยังคงเน้นการรวมศูนย์อำนาจ ไม่ได้กระจายอำนาจไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง
ปรีดี พนมยงค์ อธิบายความหมายของ "เรฟโวลูชัน" ตามแนวคิดของมาร์กซ์-เลนิน โดยอ้างอิงจากหนังสือ "ปัญหาเลนิน" ของสตาลิน ซึ่งระบุว่าหมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ก้าวหน้าและปลดปล่อยมนุษยชาติ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีส่วนสำคัญในการพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 โดยมิได้ทรงถูกบังคับ แต่ทรงเต็มพระทัยและมีส่วนร่วมในการยกร่าง รวมทั้งทรงซ้อมพิธีการด้วยพระองค์เอง ผู้แทนราษฎรชั่วคราวที่ร่วมพิจารณาประกอบด้วยเชื้อพระวงศ์และผู้มีบรรดาศักดิ์ แสดงถึงการยอมรับจากทุกฝ่าย
เมื่อเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัย ปลายเกิดความเหงาคิดถึงพ่อแม่ ในช่วงปิดภาคฤดูร้อน ปลายได้เดินทางกลับบ้าน และได้ฟังเรื่องเล่าคนเวียดนามในการต่อสู่เพื่อเอกราชจากผู้เป็นพ่อ
PRIDI Interview อาจารย์สรรเสริญ ไกรจิตติ นักเรียนโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ต.ม.ธ.ก.) รุ่นที่ 4 ได้เล่าถึงประสบการณ์และความทรงจำช่วงวัยเรียนในสมัยนั้น นอกจากนั้นวัยเรียนยังได้ร่วมแสดงละครภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ที่อาจารย์ปรีดีเป็นผู้กำกับ
สุนทรพจน์ของนายปรีดี พนมยงค์ ในโอกาสการจัดงาน “กึ่งศตวรรษประชาธิปไตย” วันที่ 24 มิถุนายน 2525 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 24-27 มิถุนายน 2525 ได้ชี้แจงถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
ในบันทึกนี้เป็นเรื่องราวที่ สุโข สุวรรณศิริ ได้กล่าวถึงความทรงจำของ “วิเชียร วัฒนคุณ“ เพื่อนสนิทในครั้งขณะศึกษาชั้นเตรียมปริญญา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ในแง่ของคุณงานความดี และหน้าที่การงาน
การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
การสร้างรัฐสวัสดิการ เป็นการสร้างจุดมุ่งหมายให้ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มผู้ยากไร้ ให้ดีขึ้น และสามารถเข้าถึงได้อย่างดี
หลังจากที่มีการจัดตั้งราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสภา ในปัจจุบัน) และเปลี่ยนจากปทานุกรมเป็นพจนานุกรม จึงได้มีการนิยามคำว่า “ปฏิวัติ“ ซึ่งมีความหมายว่า การหมุนกลับ การผันแปรตามหลักมูล

หนังสือขายดี

ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564

สันติสุข โสภณสิริ บรรณาธิการ
240 หน้า
ราคา 195 บาท

เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก

หนังสือแนะนำ

หนังสือหายาก

ความเป็นอนิจจังของสังคม
เหลือ 12 เล่ม

แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม

ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม