ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทสัมภาษณ์
16
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องราวของอาจารย์ปรีดีในปารีส หลังลี้ภัยจากรัฐประหาร พร้อมภาพบ้านอองโตนีที่อาจารย์ท่านใช้ชีวิตปลายทาง ฟังเรื่องราวจากสองบุตรี ของรัฐบุรุษอาวุโส สุดา-ดุษฎี พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
15
พฤษภาคม
2567
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยการวิพากษ์วิจารณ์ที่มาและอำนาจวุฒิสมาชิกในรัฐธรรมนูญ 2560 ว่ามีเจตนาสืบทอดอำนาจแนวอภิชนาธิปไตย ระบบซับซ้อนผิดกฎหมาย วุฒิสภามีอำนาจเกินไป เสนอให้ใช้ระบบสภาเดียวจากเลือกตั้ง และผลักดันรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
14
พฤษภาคม
2567
‘สถาบันปรีดี พนมยงค์’ ได้ร่วมกับ ‘มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์’ จัดงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567
14
พฤษภาคม
2567
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2567 ที่ผ่านมา เป็นวาระ 124 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ ในช่วงเช้าสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศล และพิธีวางพานพุ่ม ณ อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้ริเริ่มวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤษภาคม
2567
ภายหลังการอภิวัฒน์สยามในช่วงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมทั่วประเทศให้เชื่อมโยงถึงกัน เพื่อความเจริญในด้านต่างๆ โดยมีการตั้งชื่อจากเชื้อพระวงศ์และบุคคลสำคัญ เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดี
แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤษภาคม
2567
หนังสือพิมพ์ไทยต้องเผชิญกับความท้าทายในการรายงานข่าวสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างเป็นกลางภายใต้คำสั่งทางราชการ พวกเขาจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการคัดเลือกข่าวที่น่าเชื่อถือเพื่อรักษาเกียรติภูมิในฐานะสื่อมวลชน
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบและความหมายตามนาฏกรรมของรัฐในแต่ละยุค บางช่วงเน้นประชาชน บางช่วงใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง สะท้อนการเปลี่ยนแปลงบทบาทและความสำคัญของพระราชพิธีในสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
แนวคิดราษฎรของปรีดี พนมยงค์ โดยได้เปรียบเทียบกับแนวคิดราษฎรก่อนและหลังการอภิวัฒน์สยาม และแสดงให้เห็นว่าราษฎรของปรีดีมีความเชื่อมโยงกับการที่ราษฎรมีสิทธิ เสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพซึ่งแตกต่างจากแนวคิดราษฎรก่อนการอภิวัฒน์
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2567
การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เกิดขึ้นในรัฐบาลสมัยคณะราษฎร จากแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 มีรูปแบบที่เป็นประชาธิปไตยสมบูรณ์ซึ่งมีหลักการสำคัญในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง ระบบสองสภาฯ คือสภาผู้แทนราษฎรกับพฤฒสภาต้องมาจากการเลือกตั้งของราษฎร