ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วาณี พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
8
กรกฎาคม
2566
เสมือนว่าสถานการณ์ต่างๆ จะคลี่คลายและสงบลง แต่แล้วกลุ่มรัฐประหาร 2490 กลับต้องการล้มรัฐบาล จึงบุกมาที่บ้าน หวังจับพ่อของปลาย แต่ไม่สำเร็จ พ่อของปลายหลบหนีไปได้และลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ ครอบครัวของปลายก็ต้องโยกย้ายถิ่นฐานด้วยเช่นกัน
ชีวิต-ครอบครัว
25
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของเด็กหญิงปลายกับชีวิตในรั้วโรงเรียนดรุณวิทยา สถานศึกษาที่ก่อตั้งจากความตั้งใจของ 'ครูสายชล' และ 'คุณจัดการ' ด้วยความมุ่งหวังให้การศึกษาเข้าถึงแก่เยาวชน กับชีวิตที่จบลงของคุณจัดการขณะปฏิบัติภารกิจในขบวนการเสรีไทย ณ ประเทศจีน
ชีวิต-ครอบครัว
17
มิถุนายน
2566
ความผันผวนในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คนไทยรวมถึงครอบครัวของปลาย ต่างก็ได้รับผลกระทบจากมหาสงครามนี้เช่นกัน จักรวรรดิญี่ปุ่นกระทำการรุกรานประเทศไทย ‘บิดา’ ของปลาย จึงได้ตั้ง “ขบวนการเสรีไทย” เพื่อต่อต้านยับยั้งการกระทำของจักรวรรดิญี่ปุ่น
ชีวิต-ครอบครัว
11
มิถุนายน
2566
เรื่องราวจุดเริ่มต้นชีวิตของ 'ปลาย' ทารกน้อยที่ถือกำเนิดขึ้น ณ บ้านย่านสีลม การมาถึงของชีวิตใหม่ทำให้บ้านหลังนี้ไม่เงียบเสียงของความสุขและเต็มไปด้วยความอบอุ่นจากทั้งผู้เป็นพ่อ ผู้เป็นแม่ และบรรดาลูกๆ ของครอบครัว
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
Subscribe to วาณี พนมยงค์