ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สุดา พนมยงค์

บทสัมภาษณ์
16
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องราวของอาจารย์ปรีดีในปารีส หลังลี้ภัยจากรัฐประหาร พร้อมภาพบ้านอองโตนีที่อาจารย์ท่านใช้ชีวิตปลายทาง ฟังเรื่องราวจากสองบุตรี ของรัฐบุรุษอาวุโส สุดา-ดุษฎี พนมยงค์
9
กุมภาพันธ์
2567
มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ เข้าร่วมโครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยและการรำลึกขบวนการเสรีไทย ประจำปี 2567 ณ ห้องประชุม ดร.สมสักดิ์ และคุณหญิงปัทมา สีสวัสดิ์ตระกูล (NIDA)
16
มิถุนายน
2566
15 มิถุนายน 2566 (วานนี้) ณ ห้องสุทัศน์ ชั้น 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ กรุงเทพมหานคร ร่วมประชุมหารือการจัดกิจกรรมในวาระ “78 ปี วันสันติภาพไทย ประจำปี 2566” เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์และคุณูปการของวีรชนขบวนการเสรีไทยซึ่งจะจัดขึ้นในวันพุธที่ 16 สิงหาคม 2566 
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
18
สิงหาคม
2565
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีวางช่อดอกไม้บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ หน้าตึกโดม เพื่อเป็นรำลึกถึงคุณูปการของผู้เสียสละในขบวนการเสรีไทย ภายใต้การนำของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการฯ และผู้เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 2   
ชีวิต-ครอบครัว
20
กรกฎาคม
2565
พี่หน่อยเป็นธิดาของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน (ท่านชิ้น) ซึ่งเป็นพระเชษฐาของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7
บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
Subscribe to สุดา พนมยงค์