ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อดัม สมิธ

แนวคิด-ปรัชญา
26
กันยายน
2566
“การคลังของประเทศ” ว่าด้วยเรื่องลักษณะ ขอบเขต และกิจของการคลังในประเทศที่พึงดูแลเป็นหลักคือ งบประมาณ รายได้ และรายจ่ายของประเทศ การกำหนดรายได้และรายจ่ายของประเทศในรอบหนึ่งปี ตามพรบ. งบประมาณ พ.ศ. 2456 ที่แต่ละกระทรวงต้องจัดเตรียมตามข้อบังคับของกระทรวงการคลังเพื่อเสนอขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต และปฏิบัติตามพระบรมราชานุญาต
แนวคิด-ปรัชญา
5
มิถุนายน
2566
ทบทวนนิยามของ "รัฐบาล" โดยพิจารณาจากความหมายอย่างกว้างและแคบ รัฐบาลจะพึงมีกี่ชนิดนั้นอาจแยกพิจารณาตามความหมายของรัฐบาลนั้นเอง คือสุดแต่จะพิจารณาตามความหมายอย่างกว้าง, อย่างแคบ, หรือตามความหมายในทางเศรษฐกิจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2565
ตั้งแต่เริ่มระบอบประชาธิปไตยมา แม้ในสภาผู้แทนราษฎรจะได้มีการร่ำร้องให้รัฐบาลลดหย่อนภาษีอากร และรัฐบาลได้ลดหย่อนลงจนถึงที่อยู่แล้วก็ตาม ภาษีอากรทั้งหมดที่เก็บอยู่นั้น เมื่อพิจารณาโดยทั่วๆ ไปแล้ว ยังเห็นว่า ยังไม่เป็นธรรมแก่ราษฎรอยู่ ราษฎรเป็นแต่เพียงรู้สึกหายใจคล่องและพ้นจากการผูกมัดรัดแน่น ในด้านรัฐบาล รายได้จากการภาษีอากรทั้งหมด ก็ไม่พอแก่การที่จะบำรุงสร้างความเจริญก้าวหน้าให้ประเทศชาติ และในส่วนรวม ภาษีอากรเหล่านั้น ไม่เป็นคุณต่อการผลิตและการจำแนกทรัพย์ในระหว่างชั้นของราษฎร และยังมีภาษีอากรที่คนจนหรือคนมั่งมีต้องเสียเท่ากันอยู่ เช่น รัชชูปการ เป็นอาทิ
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2564
“การอภิวัฒน์ 2475” นับว่าเป็นความกล้าหาญของคณะผู้ก่อการ ซึ่งเรียกว่า “คณะราษฎร” ท่านทั้งหลายเหล่านั้นก็มีเป้าหมายที่จะให้สยามประเทศได้เจริญก้าวหน้าเหมือนประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยยึดโยงกับหลัก 6 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
7
ธันวาคม
2563
เศรษฐกิจกับรัฐธรรมนูญสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในลักษณะที่ทั้งเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนภายในรัฐในทางเศรษฐกิจ และกำหนดกรอบทิศทางระบบเศรษฐกิจของรัฐจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร
Subscribe to อดัม สมิธ