ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2566
การได้มาซึ่งสันติภาพของประเทศไทยล้วนมาจากการเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทยทุกภาคส่วนและไม่ใช่เพียงแค่การต่อต้านผู้มารุกรานไทยเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาความเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย
บทบาท-ผลงาน
1
กันยายน
2566
ดร.พิจิตต รัตตกุล กล่าวถึงที่มาของ “สวนเสรีไทย” จากความมุ่งหวังสำคัญเมื่อปี 2526 คือแก้ไขปัญหาน้ำท่วมใหญ่และสาเหตุที่เลือกใช้ชื่อว่า “สวนเสรีไทย” เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของขบวนการเสรีไทย
Subscribe to คณะราษฎร