ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
บทสัมภาษณ์
12
สิงหาคม
2566
คุณอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภาฯ ย้อนเล่าเรื่องราวเมื่อครั้งมีโอกาสได้เป็นหนึ่งในผู้ที่เดินทางไปรับอัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ ด้วยความศรัทธาในตัวท่านปรีดีทั้งในด้านแนวคิด และอีกทั้งคุณอุทัยยังเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ท่านปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
Subscribe to คณะราษฎร