ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

ชีวิต-ครอบครัว
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
ตุลาคม
2565
ญี่ปุ่นเป็นชาติที่มีภาพลักษณ์ชัดเจนของคนรุ่นใหม่ ซึ่งมีวินัยต่อการใช้ชีวิตที่วิ่งสวนทางกับอุดมคติแบบสุขนิยม เมื่อประเทศเข้าสู่ฐานะการเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจจนได้สมญา เสือแห่งเอเชีย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ตุลาคม
2565
ผลพวงจากข้อตกลงหลังเสียงปืนแห่งสงครามสงบลง คือการใช้เส้นขนานที่ 17 แบ่งแยกดินแดนและการปกครอง ส่งผลให้กำลังพลที่ตกค้างในแต่ละพื้นที่ต้องเคลื่อนย้ายสู่ดินแดนที่ถูกกำหนดไว้ภายใต้สภาพการณ์หลังการสงบศึก
บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2565
ภารกิจแรกของปรีดี หัวหน้าเสรีไทยในประเทศ และ ม.ร.ว.เสนีย์ หัวหน้าเสรีไทยสายอเมริกาภายใต้รัฐบาลใหม่ คือ การสวนสนามของพลพรรคเสรีไทยราว 8,000 คน บนถนนราชดำเนินกลาง ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2488
แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2565
ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 72 ปี[1] แต่บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริงในบางครั้งบางคราวเท่านั้น เพราะได้มีการปฏิวัติรัฐประหารกันมาตลอดเวลาไม่ต่ำกว่า 20 ครั้ง ทั้งที่ทำสำเร็จบ้าง ไม่สำเร็จบ้าง บางครั้งมีการปฏิวัติแล้ว ก็มีการบริหารราชการแผ่นดินกันในระบอบเผด็จการ ไม่มีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญใช้บังคับ ในบางยุคมีการบริหารราชการแผ่นดินแบบกึ่งเผด็จการและกึ่งประชาธิปไตย ทั้งนี้สุดแต่จิตสำนึกของผู้ยึดอำนาจแต่ละคน ในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นยุคประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมือ
ชีวิต-ครอบครัว
22
กันยายน
2565
เมื่อสงครามสิ้นสุดแล้ว คุณไสวได้สมัครเป็นผู้แทนราษฎร และได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นบ้านเกิด ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการนายกรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
14
กันยายน
2565
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ หยิบยกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของความเป็นอนิจจังที่ปรากฏขึ้นจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อนำเสนอถึงการกลวิธี ลักษณะ และรูปแบบ ที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่
บทบาท-ผลงาน
7
กันยายน
2565
เมื่อ ปรีดี พนมยงค์ ก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งแรกๆ ที่ปรีดีให้ความสำคัญ คือ การสานต่อเจตนารมณ์ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2