ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2565
การที่โฮจิมินห์และพรรคมอบหมายให้หวอเหงียนย้าปรับผิดชอบในด้านการทหาร ซึ่งก็คือ การจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธในการต่อสู้เพื่อกู้เอกราช อันสืบเนื่องมาจากการจัดตั้ง “แนวร่วมเวียดมินห์” (VIET NAM DOC LAP DONG MINH HOI) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 1941 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จากการประชุมสมัชชาครั้งที่ 8 ของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน ณ ฐานที่มั่นภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ตรงกับวันคล้ายวันเกิดของโฮจิมินห์พอดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : นักอภิวัฒน์หนุ่ม
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทบาท-ผลงาน
28
เมษายน
2565
‘ไสว สุทธิพิทักษ์’ ได้ย้อนเรื่องราวถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ผูกเงินบาทเข้าไว้กับเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษมาอย่างยาวนาน ซึ่งการกระทำเช่นนี้นั้น ไม่เป็นผลดีต่อเสถียรภาพเงินตราและความมั่นคงของชาติอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
28
มีนาคม
2565
"เอกราชในทัศนะของคณะราษฎร" นั้น มีความหมายกว้างกว่าการปักปันอาณาเขต หรือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และในโลกทัศน์ของปรีดียังแสดงให้เห็นว่าผลประโยชน์จากเอกราชต้องเป็นประโยชน์ต่อราษฎรอันสอดรับกับงานเขียนสมัยนั้นที่มักจะสะกด "เอกราช" เป็น "เอกราษฎร์" อย่างมีนัยยะสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
24
มีนาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ชวนให้พิจารณาถึงสงครามที่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ ข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ นำมาซึ่งภัยสงครามที่สร้างความสูญเสียต่อมวลมนุษยชาติ เพราะถึงที่สุดแล้ว "การมีสันติภาพถือเป็นสิ่งดีที่สุด"
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2565
ศ.ดร.วิเชียร วัฒนคุณ' เล่าถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นเมื่อครั้งที่เดินทางไปที่ “ยูเนสโก” ณ กรุงปารีส ในการเป็นคณะผู้แทนไทยเพื่อดำเนินการจัดการแถลงชี้แจงต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อทบทวนมติและขอให้เพิ่มชื่อ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในบัญชีรายการที่ได้รับการคัดเลือกเสนอชื่อให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก .
บทบาท-ผลงาน
18
มีนาคม
2565
'พระไพศาล วิสาโล' เปรียบพระมหากษัตริย์นาม 'พระเจ้าจักรา' ว่า "ทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงคุณธรรม ไม่ประสงค์ให้ไพร่พลของพระองค์ต้องสูญเสียเลือดเนื้อ จึงเลือกใช้วิธีการรบแบบยุทธหัตถีกับพระเจ้าหงสา ครั้นประสบชัยชนะแล้วก็สั่งปล่อยแม่ทัพนายกอง และทหารกรุงหงสาทั้งหมด หาได้จับกุมคุมขังหรือทำร้ายแต่อย่างใดไม่"
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2