ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
6
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ในทางปรัชญา คือ สสารทางสังคม ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ที่มักจะสังเกตสิ่งรอบตัว เพื่อที่จะนำมาพิเคราะห์หาข้อเท็จจริง และการกำหนดกฎเกณฑ์ภายในสังคมนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งที่ทำให้เราได้เข้าใจหลักความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันแล้ว ยังช่วยให้เราเพลิดเพลินกับการสืบเสาะบางอย่างเพื่อที่จะค้นหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่รู้
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2567
ในปัจจุบันนี้คำว่า ‘พีลอสโซฟี' หรือ 'ปรัชญา’ ได้มีการให้ความหมาย คือ “ยอดสรุปของวิชาทั้งหลาย“ หรือ “วิทยาของวิทยาทั้งหลาย“ นอกจากนี้ยังมีความเชื่อมโยงกับความหมายทางภาษาบาลี - สันสกฤต ของคำว่า “ธรรม“ อีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2567
ทหารในกองทัพสมัยใหม่ เป็นการปฏิรูปวัฒนธรรมองค์กรให้มีความสามัคคีเป็นหนึ่งเดียว ไม่มีการแตกแยก อีกทั้งยังทำหน้าที่เป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่จะป้องกันประเทศไม่ให้คู่ตรงข้ามเข้ามารุกรานและสามารถเอาชนะคู่ศัตรูได้ภายใต้สงครามยุคใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
22
กุมภาพันธ์
2567
ภาพรวมของสถิติ นิติรัฐ ความชอบธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในบริบทสากล ยังพบว่ามีความขัดแย้งทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เหตุการณ์รัฐประหาร ปี 2557 จนกระทั่งการเคลื่อนไหวทางการเมืองของนักเรียน นิสิตนักศึกษาในปี 2563
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2567
ธรรมชาติปรัชญา ได้มีการค้นพบสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นที่มาของคำว่า "ไซเอนส์" หรือในภาษาไทยแปลว่า "วิทยาศาสตร์"
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2567
นิติรัฐเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงถึงการมีอยู่ของประชาธิปไตย แต่สำหรับกรณีของประเทศไทยนิติรัฐมีความแตกต่างออกไป นั่นคือมีการนำเอาระบบแนวคิดการปกครองตามที่ชนชั้นนำต้องการให้รักษาไว้เข้ามาปรับใช้จนความเป็นนิติรัฐของไทยเปลี่ยนไป
แนวคิด-ปรัชญา
16
กุมภาพันธ์
2567
ข้อเสนอแนะการขุดคอคอดกระ เพื่อทำคลองเชื่อมระหว่างสองฝั่งทะเล จากแนวคิดการแนะนำของดร. ปรีดี พนมยงค์ ด้วยความหวังว่าโครงการนี้จะช่วยพัฒนาสภาพเศรษฐกิจของประเทศได้
แนวคิด-ปรัชญา
13
กุมภาพันธ์
2567
ความรักในสังคมสามารถจำแนกได้ทั้ง 5 รูปแบบที่มีความแตกต่างกันออกไป ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงถึงความมั่นคงในเศรษฐกิจของชาติ สวัสดิการสังคมที่กระจายสู่ประชาชนอย่างทั่วถึง
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2567
ปรัชญา ไม่ได้เพียงแค่ศึกษาเพื่อหาความรู้และความจริงเท่านั้น แต่เป็นการผนวกรวมให้เกิดสมุฏฐานของโลกและสิ่งต่างๆ ที่เกิดเปลี่ยนแปลงจากธาตุและสสาร
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา