ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2566
การเมืองของไทยที่เกิดปรากฏการร่วมมือของฟากฝั่งระหว่างพรรคฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่อการเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 อันเป็นความหวังใหม่ของการสร้างสรรคการเมืองใหม่?
แนวคิด-ปรัชญา
4
ธันวาคม
2566
รัฐธรรมนูญของไทยนั้นมีความเฉพาะหรือพิเศษจากการประกาศยกเลิกและประกาศใช้ฉบับใหม่โดยคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจการปกครองอยู่บ่อยครั้ง หรืออาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญไทยแต่ละฉบับมีอายุเฉลี่ยได้เพียง 4.5 ปีเท่านั้น เพราะมักจะถูกรัฐประหารทำให้เกิดการแก้ไข เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
แนวคิด-ปรัชญา
3
ธันวาคม
2566
เล่าถึงชีวประวัติของท่านอาจารย์ ปรีดี พนมยงค์ ในบทบาทเมื่อครั้งเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรก นับแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองในนาม “คณะราษฎร”
แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2566
นักสังคมผู้คิดเปลี่ยนแปลงจำต้องมีวิทยาศาสตร์และประณีตศิลปะทางสังคมเพื่อเข้าใจถึง “วิชชา” ซึ่งต้องอาศัย “สัมวุธิวิทยา” โดย นายปรีดี ขยายภาพของศาสตร์ที่เรียกว่า “สัมวุธิวิทยา” ซึ่งแปลจากคำว่า “Epistemology” หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า “ญาณวิทยา”
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2566
ปัญหาเชิงโครงสร้างสำคัญหนึ่งของไทยที่ยังคงผลิตซ้ำความรุนแรงต่อผู้หญิง คือ สื่อบันเทิงไทย และเสนอถึงการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและรัฐบาลที่พยายามผลักดันวัฒนธรรมเหล่านี้
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2566
วิถีแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งสองประการคือ วิถีวิวัฒน์และวิถีอภิวัฒน์ รวมไปถึงความหมายและรากที่มาของศัพท์ทางวิชาการอย่าง “ไดอาเล็คติคส์” ที่แปลได้ว่า ประติการ
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤศจิกายน
2566
ความสัมพันธ์ทางการผลิตและพลังในการผลิต ล้วนเกี่ยวโยงระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และทรรศนะทางสังคมที่ดำรงอยู่กับชีวปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้คนในแต่ละโครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2566
การรับรู้ของผู้คนในยุคหลังการอภิวัฒน์ 2475 ต่อคำว่า “วิทยาศาสตร์” มักถูกมองให้เป็นเรื่องของนักวิทยาศาสตร์ มิได้ข้องเกี่ยวกับตนแต่อย่างใด หรือกล่าวได้ว่า ผู้คนยังคงมอง “วิทยาศาสตร์” เป็นเรื่อง “อื่น” มิใช่เรื่องใกล้ตัวใดที่ต้องให้ความสำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2566
สถาบันและระบบการเมืองตั้งอยู่บนรากฐานแห่งสภาพความเป็นอยู่ทางชีวปัจจัยของสังคม กล่าวคือ ความต้องการในการดำรงชีพของมนุษย์เป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบันและระบบการเมือง
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา