ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2563
“สังคมก็จะดํารงอยู่ได้ก็ด้วยมวลราษฎร ดังนั้นเอง ระบบสังคมที่จะทําให้มวลราษฎรมีพลังผลักดันให้สังคมก้าวหน้า ก็คือ ระบบประชาธิปไตย… คือ หมายถึงระบบที่ประชาชนหรือมวลราษฎรมีอธิปไตย...” -- ปรีดี พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2563
“จิตใจวิทยาศาสตร์” คือ สิ่งที่บุคคลซึ่งจะเข้าใจปรัชญาที่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ พึงมี ปรีดี พนมยงค์ อธิบายว่า “จิตใจวิทยาศาสตร์” มี 6 ประการ ได้แก่
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2563
เค้าโครงเศรษฐกิจฉบับแรกนี้ ปรีดี พนมยงค์เขียนขึ้นภายในระยะเวลาที่จำกัด และมุ่งหมายที่จะให้เค้าโครงการเศรษฐกิจนี้เป็นเพียงหลักการใหญ่เท่านั้น ในรายละเอียดการดำเนินการแต่ละเรื่องนั้นจะต้องมีการไปคิดและกำหนดวิธีการดำเนินการอีกทีหนึ่งภายใต้หลักการนี้
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2563
ในวาระครบรอบ 60 ปี แห่งการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ไทย ผมใคร่จะถือโอกาสนี้เขียนถึง ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้เป็นมันสมองของคณะราษฎรในการอภิวัฒน์ครั้งนั้น 
แนวคิด-ปรัชญา
15
มิถุนายน
2563
ปรีดี พนมยงค์ ทำการอภิวัฒน์สยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ด้วยความปรารถนาจะให้ประเทศสยามในขณะนั้นได้มีประชาธิปไตยสมบูรณ์ คือประกอบไปด้วยประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ ประชาธิปไตยการเมือง และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2563
เมื่อจะทำความเข้าใจขบวนการสิทธิสตรีในประเทศไทย อาจพบว่าชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เป็นที่คุ้นเคยสักเท่าไหร่ แต่ถ้าจะกล่าวถึงกำเนิดของสิทธิสตรีในการเลือกตั้งของสตรีไทยแล้ว คงไม่มีใครปฏิเสธว่า เริ่มต้นที่ร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และร่างธรรมนูญฉบับนี้เองที่ นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้รับผิดชอบในการร่าง
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2563
1. การยึดอำนาจการปกครองของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่าเป็นจุดสุดยอดของการสะสมความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ได้มีการประกาศพระราชกำหนดนิรโทษกรรม แก่คณะราษฎรและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2563
การรำลึกครบรอบ 120 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้รักชาติ รักประชาธิปไตยและสันติธรรมอย่างแท้จริง ถ้าจะให้เป็นไปอย่างมีความหมายและเกิดประโยชน์ต่อสังคมปัจจุบันแล้ว เราควรจะกลับไปศึกษาจากประสบการณ์และความคิดทางการเมืองของเขา แล้วถอดบทเรียนเพื่อให้สังคมเดินไปข้างหน้า ไม่ก้าวพลาดซ้ำวนเวียน หรือเดินถอยหลังเข้าคลอง 
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2563
เรารู้กันดีว่า มีโรคบางชนิดที่เป็นโรคระบาด โรคเหล่านี้ก็เช่นกาฬโรค หรือที่ดูเหมือนว่าเราเคยเชื่อกันมาผิด ๆ เช่นนั้นต่อโรคเรื้อนด้วย แต่เราคงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า โรคติดต่อเหล่านี้ก็เป็นกฎทั่วไป และมนุษย์เรานี่เองต่างเป็นเหตุปัจจัยแก่กันและกันในการติดเชื้อและการเสียชีวิตมากมายเพียงใด เราอาจกล่าวได้ว่า หนึ่งในบรรดาผู้บุกเบิกความคิดสำนักภราดรภาพที่ยิ่งใหญ่ก็คือ [หลุยส์] ปาสเตอร์ เมื่อเขาแถลงต่อสาธารณชนว่า มีโรคจำนวนไม่น้อยเลย – ในอนาคตอาจกล่าวโดยปราศจากข้อสงสัยได้ว่า โรคทุกโรค นั่นเอง – ที่อาจส่งผ่านจากคนสู่คนได้ ชาร์ลส์ จี๊ด
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา