ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตย

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2567
โครงการดุสิตธานีและร่างกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2473 เป็นความพยายามของชนชั้นนำในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ยังไม่ใช่การปกครองท้องถิ่นแบบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ เนื่องจากยังคงเน้นการรวมศูนย์อำนาจ ไม่ได้กระจายอำนาจไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
24
มีนาคม
2567
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีส่วนสำคัญในการพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 โดยมิได้ทรงถูกบังคับ แต่ทรงเต็มพระทัยและมีส่วนร่วมในการยกร่าง รวมทั้งทรงซ้อมพิธีการด้วยพระองค์เอง ผู้แทนราษฎรชั่วคราวที่ร่วมพิจารณาประกอบด้วยเชื้อพระวงศ์และผู้มีบรรดาศักดิ์ แสดงถึงการยอมรับจากทุกฝ่าย
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2567
สุนทรพจน์ของนายปรีดี พนมยงค์ ในโอกาสการจัดงาน “กึ่งศตวรรษประชาธิปไตย” วันที่ 24 มิถุนายน 2525 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 24-27 มิถุนายน 2525 ได้ชี้แจงถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของคณะราษฎร การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2567
17 กุมภาพันธ์ 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นเกี่ยวกับ ความจริงเกี่ยวกับขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2492
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2567
นิติรัฐเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงถึงการมีอยู่ของประชาธิปไตย แต่สำหรับกรณีของประเทศไทยนิติรัฐมีความแตกต่างออกไป นั่นคือมีการนำเอาระบบแนวคิดการปกครองตามที่ชนชั้นนำต้องการให้รักษาไว้เข้ามาปรับใช้จนความเป็นนิติรัฐของไทยเปลี่ยนไป
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
4
ธันวาคม
2566
รัฐธรรมนูญของไทยนั้นมีความเฉพาะหรือพิเศษจากการประกาศยกเลิกและประกาศใช้ฉบับใหม่โดยคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจการปกครองอยู่บ่อยครั้ง หรืออาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญไทยแต่ละฉบับมีอายุเฉลี่ยได้เพียง 4.5 ปีเท่านั้น เพราะมักจะถูกรัฐประหารทำให้เกิดการแก้ไข เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
Subscribe to ประชาธิปไตย