ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตย

แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2566
ข้อสังเกต 3 ประการถึงเหตุผลว่าเป็นเช่นไรที่การมองด้วยทฤษฎีภาวะทันสมัยหรือ “สองนคราธิปไตย” อาจต้องกลับมาศึกษาใหม่อีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
บทบาทของผู้หญิงสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมและเสมอภาคกัน ไม่ใช่แค่เพียงแต่ปัญหาเรื่องประชาธิปไตยเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียมทางเพศ การเลือกปฏิบัติ ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรง
แนวคิด-ปรัชญา
26
สิงหาคม
2566
สถานการณ์ในพม่า ณ ปัจจุบันจึงกลายเป็นเสมือนศึกสามก๊ก ระหว่างรัฐบาลเผด็จการทหารของมิน อ่อง หล่าย กับฝ่ายประชาธิปไตยของรัฐบาล NUG ที่ต่อต้านรัฐบาลเผด็จการทหาร รวมไปถึงกลุ่มชาติพันธ์ุที่ยังไม่สามารถสรุปท่าทีได้อย่างชัดเจน ทั้งสามฝ่ายนี้ ต่างก็มีทัศนะต่อความหมายของการสร้างสันติภาพที่ต่างกัน
24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
11
สิงหาคม
2566
กระบวนการปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมาผ่านมุมมองและมิติระหว่างประเทศ ถึงบทบาทจากภายนอกเมียนมา ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบอภิบาลประชาธิปไตย รวมไปถึงกระบวนการสันติภาพและการเจรจาปรองดอง จากบริบทระหว่างประเทศ โดยมีตัวแสดงภายนอกที่มีส่วนช่วยให้ได้รับประโยชน์จากประชาธิปไตยในที่สุด
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2566
หัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือประชาชน การให้การศึกษาเรื่องประชาธิปไตยแก่ประชาชนจึงเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ เช่นเดียวกัน การพัฒนาประชาธิปไตยก็มีหลักสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคน
Subscribe to ประชาธิปไตย