ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตย

บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2566
ที่มาและการออกแบบของตึกโดม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หรือภาพแทนตัวของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อย่างทุกวันนี้ และยังเป็นมรดกสำคัญของคณะราษฎรที่ส่งต่อมาให้อยู่คู่กับมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มีกระบวนการออกแบบและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องเช่นใด
Subscribe to ประชาธิปไตย