ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

บทสัมภาษณ์
16
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องราวของอาจารย์ปรีดีในปารีส หลังลี้ภัยจากรัฐประหาร พร้อมภาพบ้านอองโตนีที่อาจารย์ท่านใช้ชีวิตปลายทาง ฟังเรื่องราวจากสองบุตรี ของรัฐบุรุษอาวุโส สุดา-ดุษฎี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2567
การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เกิดขึ้นในรัฐบาลสมัยคณะราษฎร จากแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 มีรูปแบบที่เป็นประชาธิปไตยสมบูรณ์ซึ่งมีหลักการสำคัญในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง ระบบสองสภาฯ คือสภาผู้แทนราษฎรกับพฤฒสภาต้องมาจากการเลือกตั้งของราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2566
ดร.โภคิน พลกุล และ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต กล่าวถึงการรัฐประหาร 2490 อันเป็นจุดเปลี่ยนทางการเมืองครั้งสำคัญของไทย ส่งผลให้ท่านปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศไปอย่างถาวร เพื่อใหัควรมกระจ่างแก่สังคมในประเด็นต่อไปนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2566
การก่อกำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองเป็นไปตามเจตนารมณ์ของคณะราษฎร ด้วยความมุ่งหวังให้ประชาชนสามารถมีโอกาสศึกษาเล่าเรียนเพื่อเป็นกำลังสำคัญและเป็นสายธารที่รับใช้ประชาชน และช่วยให้ระบอบประชาธิปไตยดำเนินสืบต่อไป
Subscribe to รัฐประหาร 2490