ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2564
31 พฤษภาคม 2564 ครบรอบ 60 ปี การประหารชีวิตอดีตนักการเมืองสามัญชนคนสำคัญผู้หนึ่งคือ ‘ครอง จันดาวงศ์’
บทบาท-ผลงาน
21
พฤษภาคม
2564
10 ผลงานชิ้นสำคัญของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น คืออะไร และมีความเป็นมาอย่างไรบ้าง อ่านเรื่องราวทั้งหมดได้ในบทความนี้
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2564
  ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กุมภาพันธ์
2564
อาจกล่าวได้ว่า กบฏเสนาธิการหรือกบฏนายพลนี้ เป็นผลผลิตของการต่อต้านรัฐประหารภายในกองทัพบกเอง ซึ่งสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้มองว่าเป็นการเคลื่อนไหวครั้งนี้ได้เกิดขึ้นจากปัจจัย 2 ประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 เป็นเครื่องเตือนให้รู้ว่า ตราบใดที่การแข่งขันทางการเมืองยังมิได้ขยายฐานแห่งอำนาจไปสู่ประชาชน การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยการใช้กำลังย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กุมภาพันธ์
2564
รัฐประหาร 2490 นั้นมิได้มีความสำคัญเฉพาะในทางการเมือง ซึ่งการรัฐประหารในครั้งนี้ไม่ได้ฉุดรั้งการพัฒนาของประชาธิปไตยไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่การรัฐประหาร 2490 นั้นได้ผลักดันแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” แบบเข้มข้น โดยเอื้อประโยชน์ให้ส่วนตัวและให้ความคุ้มครองแก่พ่อค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อสงครามเย็นเริ่มต้น การเข้ามามีบทบาทของพญาอินทรี ทำให้เกิดความสัมพันธ์สามฝ่ายระหว่าง ขุนศึก พ่อค้า และพญาอินทรี
แนวคิด-ปรัชญา
7
กุมภาพันธ์
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถ่ายทอดเรื่องราวในคืนหลังจากเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ไม่ว่าจะเป็นหนทางหลบหนี, มิตรสหายที่ได้ทำการช่วยเหลือ หรือ แม้กระทั่งเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่ตัวท่านเองได้ประสบพบเจอ
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
Subscribe to รัฐประหาร 2490