ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

บทบาท-ผลงาน
12
พฤศจิกายน
2563
ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" หรือที่มักเรียกกันว่า กบฏวังหลวง เหตุใด "จึงมิใช่กบฏต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
บทสัมภาษณ์
11
พฤศจิกายน
2563
หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ ย้ายมาพำนักในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2513 ก็มีฝ่ายปรปักษ์ของเขา รื้อฟื้นเรื่องราวต่าง ๆ มาโจมตีอย่างไม่ขาดสาย และนายปรีดีก็ฟ้องจนชนะในทุกคดีความ
บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2563
“อย่ายิง! ที่นี่มีแต่ผู้หญิงกับเด็ก” คือ ประโยคที่ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตะโกนร้องสวนเสียงปืนกลจากรถถังที่มายิงทำเนียบท่าช้าง กลางดึกวันที่ 7 ต่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นํามาซึ่งความชะงักงันของระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เกิดขึ้นในสมัยหลังสงครามโลก
บทบาท-ผลงาน
4
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความพยายามที่จะสถาปนาลัทธิรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ ให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น จึงเกิดเป็น "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489" อันเป็นฉบับที่ได้ชื่อว่า "เป็นฉบับนายปรีดี พนมยงค์" ซึ่งเป็นฉบับที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
บทสัมภาษณ์
22
ตุลาคม
2563
ในวัย 80 ปี (พ.ศ. 2523) นายปรีดี พนมยงค์ ได้ให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการ นสพ. ตะวันใหม่ ต่อคำถามที่ว่า “จุดอ่อนของการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยเมื่อปี 2475 คืออะไร
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2563
วันที่ 2 กันยายน 2488 ประธานโฮจิมินห์ได้ประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2563
นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน 2452 - 4 มีนาคม 2492)  
Subscribe to รัฐประหาร 2490