ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
บทสัมภาษณ์
13
มกราคม
2564
อ่านบทสัมภาษณ์ธิดาทั้งสองคนของท่านผู้หญิงพูนศุข ถึงบทบาทสำคัญของมารดาในฐานะผู้อยู่เคียงข้างผู้นำ อย่างนายปรีดี พนมยงค์
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2564
ความทรงจำของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ซึ่งกลายมาเป็นคนใน 'ครอบครัวเดียวกัน' กับท่านผู้หญิงพูนศุข หลังการเสียชีวิตของ 'จำกัด' สามีของเธอในภารกิจเสรีไทย
ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2564
วันชื่นคืนสุขแห่งชีวิตคู่ของนายปรีดี-ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตั้งแต่บรรยากาศของพิธีมงคลสมรส ชีวิตคู่เมื่อแรกเริ่ม ชีวิตส่วนตัว และรายได้จากการหาเลี้ยงชีพ รวมถึงเกร็ดประวัติศาสตร์ต่าง ๆ 'ภาณุมาศ ภูมิถาวร' ถ่ายทอดจากคำบอกเล่าของท่านผู้หญิงพูนศุขออกมาได้อย่างแจ่มชัด
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2564
ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านผู้หญิงพูนศุขในรายการโทรทัศน์ว่า ความภาคภูมิใจที่สุดในชีวิตของเธอคืออะไร เธอตอบทันทีว่า “คือความภาคภูมิใจที่ได้อยู่ใกล้คนที่ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้วิชาที่จะรับใช้บ้านเมือง … ไม่ได้ผิดหวังในชีวิตส่วนตัว”
ชีวิต-ครอบครัว
31
ธันวาคม
2563
กว่าสัจจะบางอย่างจะได้รับการพิสูจน์และได้รับการยอมรับต้องใช้เวลายาวนาน บางครั้งเราอาจไม่ได้มีชีวิตอยู่เพื่อเห็นวันนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2563
บทความของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่แสดงทัศนะถึงธรรมภาษิต 2 บทที่ยึดถือ คือ ธรรมย่อมคุ้มครองผู้ประพฤติธรรม และผลของการที่ก่อสร้างไว้ดีแล้วย่อมไม่สูญหาย
บทบาท-ผลงาน
14
ธันวาคม
2563
ปฐมรัฐธรรมนูญฉบับนี้นั้นเป็นรัฐธรรมนูญที่อาจารย์ปรีดีได้ร่างขึ้นด้วยตนเอง รัฐธรรมนูญได้บรรจุไว้ซึ่งความคิดและความใฝ่ฝันของนักกฎหมายหนุ่มคนหนึ่งในขณะนั้น
บทบาท-ผลงาน
9
ธันวาคม
2563
กลไกการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ในรัฐธรรมนูญอุดมคติของปรีดี สะท้อนผ่าน (1) การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องมีความเป็นประชาธิปไตย (2) การแยกข้าราชการประจำออกจากฝ่ายการเมือง (3) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ (4) การมีองค์กรตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลาง
Subscribe to รัฐประหาร 2490