ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

นายทุน

บทบาท-ผลงาน
28
พฤษภาคม
2567
การเปิดเสรีทางการค้าในสยามช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทำให้การปลูกข้าวเพื่อการค้าขยายตัว แต่ชาวนายังคงยากจนเนื่องจากขาดการปฏิรูปโครงสร้างที่ดิน เทคนิคการผลิต และระบบภาษี ผลประโยชน์ตกอยู่กับนายทุนและขุนนางมากกว่า
บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
เมษายน
2566
ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ระบบเศรษฐกิจที่ยึดโยงต่อการเมือง และโครงสร้างทางสังคม อันนำไปสู่ส่วนต่อขยายช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้ถ่างกว้างมากขึ้น โดยวิเคราะห์ผ่านวรรคทองของภาพยนตร์ที่ว่า “คนรวยไม่ได้กินเพื่ออิ่ม แต่กินเพื่อรักษาสถานะทางชนชั้นของตน” ซึ่งสะท้อนปรากฏการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
19
กันยายน
2563
เราต้องยอมรับความจริงว่า ฝ่ายเผด็จการซึ่งแม้เป็นบุคคลจํานวนส่วนข้างน้อยของสังคม แต่พวกเขาก็มีพลังทางเศรษฐกิจ การเมือง และอิทธิพลทางทรรศนะเผด็จการอยู่มาก ดังนั้น ... ฝ่ายต่อต้านเผด็จการ... ขอให้คํานึงคติ 'กําหนดตัวศัตรูให้น้อย หาเพื่อนให้ได้มาก'
Subscribe to นายทุน