11
พฤษภาคม
ข่าวสาร
5
พ.ค.
2568
ในวาระ 125 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้จัดเวทีเสวนา “ประชาธิปไตยที่ไร้สันติภาพ : เมื่อความรุนแรงไม่ได้อยู่แค่ในสงคราม”
1
เม.ย.
2568
ประกาศ สถาบันปรีดี พนมยงค์ เรื่อง การพ้นสภาพการเป็นพนักงานของคุณรวินทร์ คำโพธิ์ทอง
บทความ
8
พ.ค.
2568
บทความเตือนว่าการปลุกกระแสคลั่งชาติอาจทำให้ไทยใช้กำลังยึดดินแดนเพื่อนบ้านอาจเป็นความสำเร็จที่ไม่ยั่งยืน เช่นกรณีสงครามอินโดจีนซึ่งไทยต้องคืนดินแดนภายหลัง โดยนายปรีดี เตือนว่าเป็นเพียงผลประโยชน์ชั่วคราวและเป็นภาพลักษณ์ที่ไม่ดีของประเทศ
8
พ.ค.
2568
นายปรีดี พนมยงค์ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 และแถลงนโยบายต่อสภา นายปรีดีมุ่งฟื้นฟูประเทศจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมซึ่งบอบช้ำมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 คำแถลงนี้สะท้อนวิสัยทัศน์ผู้นำและการวางรากฐานประชาธิปไตย
6
พ.ค.
2568
แม้นายปรีดี พนมยงค์ จะลี้ภัยไปต่างประเทศอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ทางการเมือง หลวงบรรณกรโกวิท (เปา จักกะพาก) ผู้ใกล้ชิดนายปรีดีมายาวนานก็ยังเป็นมิตรแท้ที่สำคัญต่อครอบครัวปรีดีพูนศุขตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต
5
พ.ค.
2568
ด้วยสถานการณ์ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่กลับมารุนแรงขึ้น ทางสถาบันปรีดี พนมยงค์ยังคงเป็นพื้นที่เพื่อถกเถียงในประเด็นสันติภาพตามแนวคิดของปรีดี พนมยงค์ที่เน้นว่า รัฐต้องมีธรรมะและต้องฟังเสียงประชาชน อีกทั้งการเสนอทางออกของความขัดแย้งที่ยั่งยืน คือ การเจรจา
5
พ.ค.
2568
การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทยข้างญี่ปุ่น จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่กระทบต่ออธิปไตยและหลักประชาธิปไตยของชาติ ที่ไม่สามารถทำให้ความสัมพันธ์ต่อประเทศสัมพันธมิตรดีขึ้นได้
4
พ.ค.
2568
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ช่วยให้พระประศาสน์พิทยายุทธ พ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองด้วยการผลักดันให้ดำรงตำแหน่งอัครราชทูตไทยประจำกรุงเบอร์ลินและช่วยเหลือบุตรชาย ในยามลำบาก
3
พ.ค.
2568
ปัญหาการจำกัดสิทธิเสรีภาพสื่อที่เกิดในทุกยุคสมัย โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศไม่เป็นประชาธิปไตยที่นำไปสู่การถูกจำกัดเสรีภาพจากกฎหมายและคำสั่งรัฐ และปัญหาการซับซ้อนของกฎหมาย และอำนาจของพนักงานการพิมพ์ที่ต้องตีความเอง
3
พ.ค.
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การระบาดของโรคหวาดกลัวคอมมิวนิสต์ในอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนำไปสู่การตรวจสอบประชาชนจำนวนมากอย่างไม่มีเหตุผลชัดเจน และนักการเมืองบางกลุ่มใช้กระแสนี้เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
2
พ.ค.
2568
เนื่องในโอกาสครบรอบ 42 ปีวันอสัญกรรมของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ กองบรรณาธิการจึงเสนอบทกวีอาลัยคัดสรร 3 ชิ้น โดย วิสา คัญทัพ, จริย์วัฒน์ สันตะบุตร และเฉินซัน ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวรรณศิลป์ อีกทั้งข้อเขียนอาลัยอื่น ๆ ใน “มิตรกำสรวล”
2
พ.ค.
2568
รัฐบาลไทยประกาศนโยบายรักษาความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด พร้อมยืนยันเอกราชของชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพยายามรักษาความสัมพันธ์แบบเป็นมิตรทั้งกับญี่ปุ่นและอังกฤษ ในสถานการณ์สงครามที่ตึงเครียดยิ่งขึ้น
2
พ.ค.
2568
2 พฤษภาคม วาระอสัญกรรม ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้อภิวัฒน์สยามและรัฐบุรุษอาวุโส
หนังสือขายดี
ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564
เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก
หนังสือแนะนำ
เศรษฐศาสตร์การเมือง (เพื่อชุมชน) ฉบับที่ 10
จำนวนหน้า : 423 หน้า
ราคาเล่มละ : 300 บาท
หนังสือหายาก
แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม
ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม