ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชีวิต-ครอบครัว

แง่มุมชีวิตส่วนตัวและครอบครัวของปรีดี

ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อของวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ เขียนโดยสุดา และดุษฎี พนมยงค์ แสดงถึงผลงานสำคัญได้แก่ การทำงานถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ การทำงานสอนภาษาจีน งานบรรณาธิการหนังสือ งานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และงานกองทุนศรีบูรพา
ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
ชีวิต-ครอบครัว
14
กรกฎาคม
2567
สุวัฒน์ วรดิลก เล่าถึงความสัมพันธ์กับปรีดี พนมยงค์ ในทศวรรษ 2490 ภายหลังจากที่ปรีดีลี้ภัยไปจีนส่วนสุวัฒน์ได้พาคณะศิลปินเดินทางไปเปิดการแสดงยังจีนและได้พบปะกับปรีดีและได้ทราบกิจวัตรของปรีดีในจีนบางส่วนที่ไม่ค่อยได้มีการเปิดเผยโดยทั่วไป
ชีวิต-ครอบครัว
30
มิถุนายน
2567
บทความนี้เสนอเกร็ดประวัติศาสตร์เกี่ยวกับนายปรีดี พนมยงค์ และอนุสาร อ.ส.ท. โดยผู้เขียนนำเสนอข้อมูลใหม่ว่าก่อนหน้าที่นายปรีดีจะถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 เพียงไม่นานได้มีผู้นำ อนุสาร อ.ส.ท. ฉบับประจำเดือนเมษายน พ.ศ. 2526 ฉบับแนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาให้ และนายปรีดีอ่านอย่างละเอียด
ชีวิต-ครอบครัว
18
พฤษภาคม
2567
นิทรรศการบ้านอองโตนี
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤษภาคม
2567
การเชิญอัฐิธาตุของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 7-11 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 และปฏิกิริยาทางสังคมจากปารีสและไทยทั้งจากครอบครัว ลูกศิษย์ และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งสื่อมวลชนที่ให้ความสนใจต่องานเชิญอัฐิธาตุในครั้งนี้
ชีวิต-ครอบครัว
2
พฤษภาคม
2567
2 พฤษภาคม 2567 ครบรอบ 41 ปี อสัญกรรม ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้อภิวัฒน์สยามและรัฐบุรุษอาวุโส
ชีวิต-ครอบครัว
21
เมษายน
2567
ปลายชื่นชมระบบการศึกษาของฝรั่งเศสที่เปิดกว้างสำหรับประชาชนทุกเพศ วัย และอาชีพ รวมทั้งได้รับของขวัญจากลูกศิษย์ซึ่งแสดงถึงความประทับใจและความขอบคุณที่มีต่อปลาย
ชีวิต-ครอบครัว
8
เมษายน
2567
จดหมายฉบับนี้แสดงความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์และท่านผู้หญิงพูนศุข ในการยกย่องบทบาทอันสำคัญของสมเด็จกรมพระยาเทววงศ์วโรปการและกรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ในการแก้ไขสนธิสัญญาช่วยให้ไทยได้รับเอกราช เสมอภาคกับนานาชาติ มีการส่งมอบหนังสือเพื่อสร้างความตระหนักในคุณูปการของท่านให้แก่คนรุ่นหลัง
ชีวิต-ครอบครัว
6
เมษายน
2567
ความสัมพันธ์ของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร กับท่านปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุขเป็นความสัมพันธ์ที่อบอุ่นและเต็มไปด้วยความรัก เป็นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งและมีอิทธิพลต่อชีวิตในชีวิตครูฉลบชลัยย์
Subscribe to ชีวิต-ครอบครัว