ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2568
ลอร์ดหลุยส์ เมานต์แบตตัน ได้สั่งให้พลโท จี. เอเวิ้นส์ เดินทางมากรุงเทพฯ ในวันที่ 3 กันยายน ในฐานะผู้บัญชาการทหารฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศไทย พร้อมด้วยกองพลอินเดียที่ 7 รวมกำลังพล 17,000 คน มีหน้าที่ในการรวบรวมและปลดอาวุธทหารญี่ปุ่นทั่วราชอาณาจักรซึ่งมีประมาณ 120,000 คน
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2568
การสืบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ “คุ้มขุนแผน” โดยผู้เขียนตรวจสอบข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากแหล่งปฐมภูมิ และเปรียบเทียบกับข้อมูลราชการที่คลาดเคลื่อน โดยกำพลใช้งานเขียนของ ส. พลายน้อย ซึ่งเคยมีประสบการณ์ตรงกับพื้นที่นั้นในยุคเดียวกันการย้ายและสร้างคุ้มขุนแผน
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2568
สุชาติ สวัสดิ์ศรีชี้ให้เห็นบทบาทของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ในฐานะนักหนังสือพิมพ์ที่มุ่งมั่นเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตย มนุษยภาพ และสันติภาพ ผ่านข้อเขียนการเมืองกว่า 3 ทศวรรษ ทั้งยังกล่าวถึงผู้อยู่เบื้องหลังการจัดพิมพ์ อาทิ ชนิด สายประดิษฐ์ สุภา ศิริมานนท์ ยศ วัชรเสถียร คำสิงห์ ศรีนอก ตลอดจนกลุ่มนักวิชาการที่ร่วมฟื้นฟูบทบาทของเขาในประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เขียนสดุดีหลวงสังวรยุทธกิจ นายทหารเรือผู้ร่วมอภิวัฒน์ 2475 และขบวนการเสรีไทยอย่างกล้าหาญ และเสียสละ บทความบันทึกบทบาทของหลวงสังวรฯ ในภารกิจลับหลายด้าน รวมถึงการช่วยเหลือสัมพันธมิตร การคุ้มครองพลร่ม และการส่งอาวุธช่วยเวียดนาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กรกฎาคม
2568
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ เจ้าของนามปากกา "เสนีย์ เสาวพงศ์" เขียนรำลึกคราวหลังครั้งเป็น "เสรีไทย" ที่ทำงานกับนายทหารสัมพันธมิตรอังกฤษ และ "ท่านชิ้น" ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2568
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 รัชกาลที่ 8 เสด็จนิวัตพระนครตามที่รัฐบาลภายใต้การนำของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญ ท่ามกลางความปรีดาปราโมทย์อย่างสุดซึ้งของพสกนิกรชาวไทย ซึ่งใฝ่ฝันเฝ้ารอรุ่งอรุณแห่งวันใหม่ด้วยจิตใจอันแจ่มใสเบิกบาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กรกฎาคม
2568
เส้นทางความรักระหว่าง สวง ทรัพย์สำรวย (ล้อต้อก) และ สมจิตต์ โตประภัสว์ นางงามประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้กลายเป็นบุคคลที่มีบทบาทในะผู้ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับของทั้งสองท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2568
บทความถ่ายทอดตำนาน “นาฬิกาปารีส” ลูกตุ้มบนตึกโดมธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การรับเป็นของขวัญ การติดตั้ง การดูแลรักษา “เจ้าลูกตุ้ม” จึงเป็นทั้งนาฬิกา แต่เป็นพยานแห่งกาลเวลา ที่ยังยืนหยัดแม้เผชิญสงครามและความเปลี่ยนแปลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2568
ศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล ได้ติดตาม ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 และเสนีย์ได้เข้าดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในรุ่งขึ้นวันที่ 17 กันยายนเป็นต้นไป โดยมีภารกิจแรกคือการแต่งตั้งคณะผู้แทนไทยเพื่อไปเจรจาเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษที่แคนดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กรกฎาคม
2568
ปราโมทย์ พึ่งสุนทร มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย โดยรับหน้าที่ประจำกองบัญชาการเสรีไทยและมีภารกิจดูแลการต้อนรับนายทหารสัมพันธมิตร เช่น โฮวาร์ด พาลเมอร์ รวมถึงทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ เช่น หลวงสังวรยุทธกิจ (สังวร สุวรรณชีพ) และพันโทสำเริง เนตรายน เพื่อดูแลความปลอดภัยและข่าวกรองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์