ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2567
การฟ้องคดีความเรื่องหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าของนายประยูร ภมรมนตรีต่อกระทรวงศึกษาธิการและห้างหุ้นส่วนจํากัดบรรณกิจเทรดดิ้ง เริ่มฟ้องคดีฯ ในปี 2522 และสิ้นสุดลงด้วยการประนีประนอมในปี 2525 การฟ้องร้องคดีฯ เพื่อการปกป้องเกียรติของนายปรีดี พนมยงค์ และยืนยันข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์สมัยคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2567
เนื้อหาช่วงสุดท้ายของบันทึกคำฟ้อง ปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งข้อกล่าวหาบางประการของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ให้เห็นข้อขัดแย้งกับหลักฐานและเอกสารประวัติศาสตร์ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลวงเดชสหกรณ์
บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2567
การวิเคราะห์ของนักศึกษาและคำชี้แจงของท่านปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นว่าข้อเขียนของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และเป็นการบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์ของตนเอง มิใช่สัจจะทางสารคดี
บทบาท-ผลงาน
23
เมษายน
2567
ข้อกล่าวอ้างของ พล.ท.ประยูรฯ เกี่ยวกับการล้มเลิกเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ขัดแย้งกับหลักฐาน ทำให้เชื่อว่าเป็นเรื่องที่ท่านแต่งขึ้นเอง ในขณะที่ข้อชี้แจงของ ปรีดี พนมยงค์ มีน้ำหนักและสอดคล้องกับหลักฐาน
บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2567
ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป
บทบาท-ผลงาน
16
เมษายน
2567
ฐานะของ “สมุดปกเหลือง” หรือ “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” มีความน่าสนใจทั้งในบริบทประวัติศาสตร์และปัจจุบัน โดยมีการวิเคราะห์ทั้งในเชิงคุณูปการต่อสังคมและเชิงลบต่อระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองไทย แต่เมื่อพิจารณามาถึงผลทางเศรษฐกิจและการเมืองกลับพบว่า สมุดปกเหลืองมีคุณูปการต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการศึกษาแนวคิดสังคมนิยมเศรษฐกิจไปจนถึงการนำหลักเศรษฐกิจบางประการมาวิเคราะห์ว่ามีลักษณะสอดรับกับแนวทางรัฐสวัสดิการ แล้วปรับใช้กับนโยบายของพรรคการเมือง
บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2567
รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ที่ผสมผสานแคปิตัลิสม์และโซเซียลิสม์ เพื่อให้ประชาชนมีพอมีกิน งานทำ และความสุข โดยมีมติรับรองหลักการและมอบหมายให้จัดทำรายละเอียดเพิ่มเติม
บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง
บทบาท-ผลงาน
11
เมษายน
2567
ปัญหาการยึดแย่งที่ดินจากชาวนา การเอารัดเอาเปรียบจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกับรัฐ และความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นในสังคมสยาม เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้นายปรีดี พนมยงค์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม นำไปสู่การอภิวัฒน์ในปี 2475
บทบาท-ผลงาน
1
เมษายน
2567
ประมวลรัษฎากรเป็นผลงานสำคัญของคณะราษฎร มุ่งปรับปรุงระบบภาษีให้เป็นธรรม ยกเลิกภาษีซ้ำซ้อน มีการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน และมีการแก้ไขอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ ตลอดระยะเวลา 85 ปี
Subscribe to บทบาท-ผลงาน