แถลงการณ์
ข่าวสาร
5
พฤษภาคม
2568
ในวาระ 125 ปีชาตกาลของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้จัดเวทีเสวนา “ประชาธิปไตยที่ไร้สันติภาพ : เมื่อความรุนแรงไม่ได้อยู่แค่ในสงคราม”
ข่าวสาร
5
ธันวาคม
2567
สืบเนื่องจากเหตุการณ์ความพยายามรัฐประหารตนเองขึ้นในสาธารณรัฐเกาหลี เมื่อคืนวันที่ 3 ธันวาคม 2567 โดยประธานาธิบดี “ยุน ซ็อก-ย็อล” ได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก โดยอ้างภัยคุกคามที่คลุมเครือ พร้อมทั้งสั่งการให้ทหารปิดล้อมรัฐสภา ซึ่งเป็นการกระทำที่มุ่งจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ขอแสดงความผิดหวังอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจดังกล่าวของประธานาธิบดียุน ซ็อก-ย็อล โดยการใช้กฎอัยการศึก เพื่อกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง และกระชับอำนาจของตนเองเช่นนี้ นับเป็นการละเมิดหลักการประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน และเป็นการกระทำที่ไม่อาจยอมรับได้ในสังคมประชาธิปไตย
ข่าวสาร
18
กรกฎาคม
2566
ที่ สปพ. 045/2566
18 กรกฎาคม 2566
เรื่อง จดหมายเปิดผนึกถึงประธานรัฐสภา กรณีสมาชิกวุฒิสภาอภิปรายพาดพิงถึงคณะราษฎรและประวัติศาสตร์ 2475
เรียน ประธานรัฐสภา
สิ่งที่ส่งมาด้วย
เอกสารถ้อยคำในการอภิปรายของนายสมชาย แสวงการ สมาชิกวุฒิสภา
ภาพประกอบการอภิปราย
ข่าวสาร
7
กุมภาพันธ์
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ติดตามสถานการณ์การอดอาหารประท้วงของ ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ (ตะวัน), อรวรรณ ภู่พงษ์ (แบม) และผู้ถูกตั้งข้อหาคดีการเมืองอื่นๆ จนอาจส่งผล กระทบร้ายแรงต่อสุขภาพ ด้วยความห่วงใยเป็นอย่างยิ่ง
ข่าวสาร
6
มิถุนายน
2565
ตามที่ปรากฏรายงานข่าวว่ารัฐทหารพม่าได้ มีมติอนุมัติให้ประหารชีวิตสองนักโทษทางการเมืองที่เป็นนักกิจกรรมทำงานประชาธิปไตย โดยอ้างว่าทั้งสองมีส่วนเกี่ยวข้องกับการก่อการร้าย ซึ่งหากมีการประหารชีวิตเกิดขึ้นจริงแล้วจะเป็นการประหารชีวิตนักโทษทางการเมืองครั้งแรก นับตั้งแต่ปี 2519
ข่าวสาร
27
เมษายน
2565
งานสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อรับฟังความคิดเห็น “โครงการพัฒนาพื้นที่ของสถาบันปรีดี พนมยงค์”
ข่าวสาร
Subscribe to แถลงการณ์
28
กุมภาพันธ์
2565
แถลงการณ์กรณีสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศยูเครน
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ในฐานะองค์กรพัฒนาเอกชน ที่ยึดมั่นอุดมการณ์สันติธรรม และหลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ขอแสดงจุดยืนต่อสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศยูเครน ซึ่งอาจส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อสิทธิมนุษยชน และเศรษฐกิจโลก โดยขอให้ทุกฝ่ายปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด และเคารพในเอกราชอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดนของทุกประเทศ ด้วยความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
การใช้กำลังรุกรานอธิปไตยของประเทศหนึ่ง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม ย่อมปราศจากความชอบธรรม