ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2567
การสร้างรัฐสวัสดิการ เป็นการสร้างจุดมุ่งหมายให้ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มผู้ยากไร้ ให้ดีขึ้น และสามารถเข้าถึงได้อย่างดี
แนวคิด-ปรัชญา
18
มีนาคม
2567
หลังจากที่มีการจัดตั้งราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสภา ในปัจจุบัน) และเปลี่ยนจากปทานุกรมเป็นพจนานุกรม จึงได้มีการนิยามคำว่า “ปฏิวัติ“ ซึ่งมีความหมายว่า การหมุนกลับ การผันแปรตามหลักมูล
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2567
ในวันที่ 27 มีนาคม 2513 ได้มีการอภิปรายการส่งเสริมการระดมทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม โดยอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการยุติปัญหาที่เกิดขึ้นในการพัฒนาของอุตสาหกรรมของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2567
การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ นับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่ช่วยยกระดับวงการอุตสาหกรรมให้มีความก้าวหน้าควบคู่กับการพาณิชยกรรม ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนความเจริญของประเทศชาติ
แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2567
คำว่า “ปฏิวัติ”, “รัฐประหาร“, “วิวัฒน์“ และ”อภิวัฒน์” ในทางวิทยาศาสตร์สังคม มีฐานจากของศัพท์คำว่า “Revolution“ (เรฟโวลูชัน) ซึ่งหมายคำว่า การเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการ
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2567
สถานการณ์ของคดีการข่มขืน ในทวีปยุโรปนั้น นับว่ามีความน่าเป็นห่วงอย่างมาก เพราะนอกจากจะเกิดขึ้นกับเยาวชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปแล้ว แถมยังพบอีกว่ามีไม่กี่ประเทศที่สามารถจัดการขั้นเด็ดขาดไม่ว่าจะในเชิงปฏิบัติและเชิงกฎหมาย
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
6
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ในทางปรัชญา คือ สสารทางสังคม ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ที่มักจะสังเกตสิ่งรอบตัว เพื่อที่จะนำมาพิเคราะห์หาข้อเท็จจริง และการกำหนดกฎเกณฑ์ภายในสังคมนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งที่ทำให้เราได้เข้าใจหลักความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันแล้ว ยังช่วยให้เราเพลิดเพลินกับการสืบเสาะบางอย่างเพื่อที่จะค้นหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่รู้
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2567
ในปัจจุบันนี้คำว่า ‘พีลอสโซฟี' หรือ 'ปรัชญา’ ได้มีการให้ความหมาย คือ “ยอดสรุปของวิชาทั้งหลาย“ หรือ “วิทยาของวิทยาทั้งหลาย“ นอกจากนี้ยังมีความเชื่อมโยงกับความหมายทางภาษาบาลี - สันสกฤต ของคำว่า “ธรรม“ อีกด้วย
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา