ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
29
พฤษภาคม
2568
รัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์ประกาศนโยบายฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมุ่งสร้างความสงบ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกด้าน เน้นหลักประชาธิปไตย สันติภาพ และความร่วมมือกับนานาชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2568
วิเคราะห์ท่าทีของอังกฤษต่อประเทศไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเน้นความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์กับหลักเอกราชของชาติไทย เปิดเผยเบื้องหลังทางการทูตและการเจรจาลับระหว่างอังกฤษ สหรัฐฯ และไทย ที่หล่อหลอมอนาคตประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤษภาคม
2568
ไดอารี่ปี 2485 ของพุทธทาสภิกขุสะท้อนบทบาทของพระสงฆ์หัวก้าวหน้าในยุคสงครามและการเมืองแปรผัน โดยเอกสารนี้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความพยายามประสานพุทธธรรมเข้ากับโครงสร้างรัฐในห้วงเวลาสำคัญของชาติไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
พฤษภาคม
2568
ภายหลังการเข้ามาของกองทัพญี่ปุ่นทำให้เกิดการรวมตัวของกลุ่มบุคคลเพื่อจัดตั้งขบวนการต่อต้านญี่ปุ่น ขนานนาม "เสรีไทย"ภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งการดำเนินงานได้ส่งสมาชิกเสรีไทยในประเทศไปต่างแดน รวมไปถึงการส่งสมาชิกขบวนการเสรีไทยในต่างประเทศและทหารฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มเข้ามาในประเทศไทย
บทบาท-ผลงาน
25
พฤษภาคม
2568
นิสิตจุฬาฯ กว่า 298 คนสมัครเป็นพลพรรคในขบวนการเสรีไทยโดยสมัครใจเพื่อสู้กับญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาจึงสร้างอนุสรณ์สถาน นร. สห. 2488 ขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งการเสียสละและกุญแจไขความจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกลบเลือน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
พฤษภาคม
2568
MONGREL คือภาพยนตร์ที่เจาะลึกความทุกข์ของแรงงานผิดกฎหมายในไต้หวัน ถ่ายทอดผ่านสายตาของตัวละครไทยชื่อ “อุ้ม” ที่ต้องเผชิญกับทางเลือกอันจำกัดระหว่างศีลธรรมและความอยู่รอด โดยหนังชี้ให้เห็นถึงความเป็นมนุษย์ในสถานะของ “ผีน้อย”
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การใช้เหตุผลบิดเบือนเพื่อสร้างสงคราม และยกย่องการเคลื่อนไหวของประชาชนทั่วโลกที่เรียกร้องสันติภาพอย่างมีศักดิ์ศรี โดยเขาย้ำว่าการรักสันติภาพไม่ใช่ความผิด แม้จะถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ก็ตาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
พฤษภาคม
2568
เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2484 กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานประเทศไทยทำให้รัฐบาลภายใต้การนำของจอมพลป.พิบูลสงครามตัดสินใจ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายอักษะ แต่การกระทำของรัฐบาลได้นำมาสู่การรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลที่รักชาติเพื่อหาวิธีการติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตร และการจัดตั้งขบวนการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2568
เมื่อวาทกรรม “ราชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ” ถูกใช้เพื่อลดทอนความชอบธรรมของคณะราษฎร บทความนี้จึงชวนทบทวนว่า ประชาธิปไตยไทยบิดเบี้ยวเพราะอภิวัฒน์ หรือเพราะการบิดเบือนประวัติศาสตร์กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2568
ข้อเสนอ 3 ประการ ขององค์อิสระในระบอบประชาธิปไตย ที่ต้องยึดโยงกับประชาชน ประกอบด้วย ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการสรรหา การสื่อสารและแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง และ การสร้างวัฒนธรรมความรับผิด เพื่อให้องค์กรอิสระเป็นองค์กรที่อยู่ข้างประชาชน