ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กฎแห่งอนิจจัง

บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2567
3 บทเรียนสำคัญที่ได้จากประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร คือ แนวทางในการศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ การทบทวนข้อผิดพลาดในอดีตของคณะราษฎร และหนทางสู่ความสมบูรณ์ของประชาธิไตยในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
28
ธันวาคม
2566
เมื่อการเบียดเบียนหมดไป ยุคมิคสัญญีย่อมสิ้นสุดลง และยุคใหม่คือยุคศรีอารยเมตไตรยก็เกิดขึ้นมาแทนที่ สอดคล้องกับแก่นธรรมที่พระอรรถกถาจารย์นำมาสอน เราจึงควรศึกษาให้เข้าใจถ่องแท้ว่าอะไรเป็นจิตธรรมและอะไรเป็นสสารธรรม และเข้าใจกฎแห่งอนิจจังของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อนำมาใช้อย่างถูกต้องตรงกับกฎธรรมชาติและกฎวิทยาศาสตร์ทางสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2566
นักสังคมผู้คิดเปลี่ยนแปลงจำต้องมีวิทยาศาสตร์และประณีตศิลปะทางสังคมเพื่อเข้าใจถึง “วิชชา” ซึ่งต้องอาศัย “สัมวุธิวิทยา” โดย นายปรีดี ขยายภาพของศาสตร์ที่เรียกว่า “สัมวุธิวิทยา” ซึ่งแปลจากคำว่า “Epistemology” หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า “ญาณวิทยา”
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2564
“สิ่งทั้งหลายในโลกนี้เป็นอนิจจัง ไม่มีสิ่งไดนิ่งคงอยู่กับที่ ทุกสิ่งที่มีอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง”
Subscribe to กฎแห่งอนิจจัง