ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขำ ณ ป้อมเพชร์

ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ 
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2564
ประวัติเดิมของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ (ดร.ปรีดี พนมยงค์) และผลงานของท่านที่ได้ทำใว้ให้แก่ประเทศชาติอย่างมหาศาล อันควรจารึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ ได้มีผู้กล่าวขวัญถึง และ เขียนบันทึกเรื่องราวไว้อย่างมากมายในที่ต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งซึ่งยังมิได้เขียนหรือบันทึกเรื่องราวขึ้นไว้ ข้าพเจ้าจึงเห็นสมควรเขียนขึ้นไว้ ณ ที่นี้ คือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค์) ได้ทำงานเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ไว้อย่างไรบ้าง
Subscribe to ขำ ณ ป้อมเพชร์