ลอร์ดหลุยส์ เมานต์แบตตัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2568
ลอร์ดหลุยส์ เมานต์แบตตัน ได้สั่งให้พลโท จี. เอเวิ้นส์ เดินทางมากรุงเทพฯ ในวันที่ 3 กันยายน ในฐานะผู้บัญชาการทหารฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศไทย พร้อมด้วยกองพลอินเดียที่ 7 รวมกำลังพล 17,000 คน มีหน้าที่ในการรวบรวมและปลดอาวุธทหารญี่ปุ่นทั่วราชอาณาจักรซึ่งมีประมาณ 120,000 คน
การวิเทโศบายของไทย ระหว่างปีพุทธศักราช ๒๔๘๓ – ๒๔๙๕ ตอนที่ 18 : การทำข้อตกลงทางทหารกับฝ่ายสหประชาชาติ
7
กรกฎาคม
2568
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยได้ดำเนินการเจรจาทางทหารกับฝ่ายสัมพันธมิตรโดยเฉพาะอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เพื่อยุติสถานะสงคราม โดยอังกฤษเสนอให้มีข้อตกลงสองฉบับ คือข้อตกลงทางทหารและข้อตกลงทางการเมือง แต่ถูกสหรัฐคัดค้านเนื่องจากเกรงว่าจะกระทบเอกราชไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2568
บันทึกความทรงจำกับเบื้องหลังของผู้เขียนในฐานะสมาชิกขบวนการเสรีไทยที่ได้เข้าเจรจากับสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตัน และเบื้องหลังการประชุมของสมาชิกขบวนการเสรีไทยกับผู้เกี่ยวข้องต่อสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ลอร์ดหลุยส์ เมานต์แบตตัน
4
มิถุนายน
2568
บทความนี้กล่าวถึงความพยายามของไทยภายใต้การนำของปรีดี พนมยงค์ในการติดต่อกับอังกฤษผ่านคณะผู้แทนต่าง ๆ เช่น คณะของถวิล อุดล และดิเรก ชัยนาม เพื่อแสดงเจตนารมณ์ต่อต้านญี่ปุ่น แม้อังกฤษยังคงถือไทยเป็นศัตรู แต่การเจรจาเหล่านี้เป็นหมุดหมายสำคัญ