ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามเวียดนาม

ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
พฤศจิกายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ตอนที่ 14 ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : สมรภูมิเวียดนามใต้ การตรากตรำทำงานอย่างหนักของ หวอเหงียนย้าป มาตั้งแต่วัยหนุ่มตลอดจนการรับหน้าที่บัญชาการในสงครามปลดปล่อยภาคใต้ ทำให้สุขภาพของท่านเริ่มทรุดโทรมถดถอยไปมาก โดยเฉพาะขณะที่ท่านมีอายุได้ 63 ปี คือในปี 1974 ขณะการรบปลดปล่อยขั้นแตกหักได้ก้าวเข้าสู่ชัยชนะในขั้นสุดท้ายแล้ว
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
ตุลาคม
2565
ฤดูหนาว เดือนธันวาคม ค.ศ. 1973 ที่กรุงฮานอย อากาศเย็นชื้นจัดกว่าทุกปี ทางการมีคำสั่งอพยพโยกย้ายผู้คนออกจากเมืองหลวง เพื่อเตรียมรับสถานการณ์ที่จะทวีความรุนแรงขึ้น และยังยากที่จะคาดเดา
แนวคิด-ปรัชญา
22
กรกฎาคม
2565
มูลเหตุที่เลือกเรียนกฎหมาย คุณแร่มได้เล่าให้ฟังว่า เดิมทีมิได้คิดจะเรียนกฎหมาย ตั้งใจจะเรียนแพทย์ เมื่อจบประโยคมัธยมบริบูรณ์ได้ไปสมัครสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไว้แล้วด้วย แต่เผอิญรอฟังผลการสมัครสอบเข้าอยู่นาน เนื่องจากมิได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาล (ขณะนั้นผู้ที่สำเร็จมัธยมศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาลสามารถเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้โดยไม่ต้องสอบเข้า) และเกรงว่าจะเข้าไม่ได้ด้วย จึงได้ไปสมัครเข้าโรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากบิดาเป็นผู้พาไปสมัครต่อเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น คือเจ้าพระยาพิชัยญาติ ซึ่งหลังจากถูกซักถามและอบรมอยู่วันหนึ่งเต็
Subscribe to สงครามเวียดนาม