เรื่องสั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
เมษายน
2568
เส้นทางชีวิตนักเขียนของ “ศรีดาวเรือง” หรือวรรณา ทรรปนานนท์ ตั้งแต่ภูมิหลังของเธอ จนถึงการก้าวเข้าสู่วงการนักเขียน ศรีดาวกับการเขียนเรื่องสั้น “บางทีวันหนึ่งข้างหน้า” หลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ซึ่งมีนัยประหวัดถึงคำขวัญประจำธรรมศาสตร์ของศรีบูรพาที่ว่า “ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์สอนให้ฉันรักประชาชน” ในข้อเขียน “ดูนักศึกษา ม.ธ.ก. ด้วยแว่นขาว"ซึ่งเรื่องสั้นนี้สะท้อนตัวตนของผู้เขียนและบริบทการเมืองในขณะนั้นได้เป็นอย่างดี
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
พฤษภาคม
2567
มนัส จรรยงค์ คือ "ราชาเรื่องสั้น" ชาวเพชรบุรี มีผลงานกว่า 1,000 เรื่อง สะท้อนวิถีชีวิตคนไทยอย่างแท้จริง เช่น "ครูแก" การจัดงานรำลึกถึงครั้งนี้ เป็นการเชิดชูเกียรติและสานต่อมรดกทางวรรณกรรมไทยที่มีคุณค่าสูง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to เรื่องสั้น
2
เมษายน
2563
ข้อมูลจากบทความ “คณะสุภาพบุรุษกับวรรณกรรมราษฎร” โดย ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ในหนังสือ “ปรีดีศึกษา และปาฐกถาศิลปกับสังคม”
“วรรณกรรมแนวทดลอง” คือรูปแบบการเขียนงานวรรณกรรมประเภทเรื่องแต่ง ที่ใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากรูปแบบของเรื่องเล่ามาตรฐานทั่วไป ที่เล่าเรื่องแบบตรงไปตรงมาเหมือนนิยายหรือนิทานที่เราคุ้นเคย มีตัวละคร มีฉาก มีเนื้อเรื่องเป็นเส้นตรงและอาจจะมีการหักมุมตอนท้ายบ้าง