ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กรณีสวรรคต ร.8

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2566
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้บรรยายความรู้สึกเมื่อครั้งเข้าร่วมการพิจารณาคดีสวรรคต ณ ศาลอาญา ในปี พ.ศ. 2491 โดยบอกเล่าสิ่งที่ตนสัมผัสได้จากทั้งสามจำเลย คือ ความสุขุม ความสงบ และความไม่หวั่นเกรงภัยใดๆ เพราะทั้งสามนั้นเชื่อมั่นในความยุติธรรมและความบริสุทธิ์ของตนเองอย่างแน่นหนัก
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2565
ปรีดี พนมยงค์ไม่เห็นด้วยกับข้อสรุปของประธานคณะกรรมการชันสูตรพระบรมศพสรุป นายปรีดี พนมยงค์ ตำหนิการให้ความเห็นของแพทย์ว่าทำเกินขอบเขตหน้าที่ของแพทย์ และไม่เห็นด้วยกับข้อสรุปของคณะแพทย์ในส่วนที่ไม่ได้เป็นเอกฉันท์ โดยปรากฏคำให้การของ นายแพทย์นิตย์ เวชชวิศิษฏ์ ที่เบิกความในศาลอาญาเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 ไว้ตอนหนึ่งว่า
บทสัมภาษณ์
28
สิงหาคม
2564
‘ไพศาล พรหมยงค์’ ประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดสมุทรปราการ คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ผู้ก่อตั้งมูลนิธิเด็กกำพร้า “บ้านอัลเกาษัร”
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2564
17 กุมภาพันธ์ ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) นายเฉลียว ปทุมรส นายชิต สิงหเสนี และ นายบุศย์ ปัทมศริน 3 จำเลยผู้บริสุทธิ์ถูกประหารชีวิตในกรณีสวรรคต
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2563
บทความของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่แสดงทัศนะถึงธรรมภาษิต 2 บทที่ยึดถือ คือ ธรรมย่อมคุ้มครองผู้ประพฤติธรรม และผลของการที่ก่อสร้างไว้ดีแล้วย่อมไม่สูญหาย
Subscribe to กรณีสวรรคต ร.8