ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การบังคับสูญหาย

แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2567
อังคณา นีละไพจิตร กล่าวปาฐกถา 20 ปีของการต่อสู้กับการลอยนวลผู้กระทำผิด ทวงถามความยุติธรรมต่อรัฐ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นการตั้งคำถามต่อการบังคับสูญหายในสังคมไทยและเกี่ยวเนื่องในวาระวันผู้สูญหายสากุล 30 สิงหาคม
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2566
19 ปี การบังคับสูญหาย สมชาย นีละไพจิตร กับการเดินทางของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงในระบบยุติธรรมและสังคมที่รอวันมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2565
วันที่ 30-31 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันที่ทั่วโลกถือเป็น วันแห่งการรำลึกถึงเหยื่อของการบังคับสูญหายสากล (International Day of Enforced or Involuntary Disappearances)
บทสัมภาษณ์
13
สิงหาคม
2565
68 ปีกับเหตุการณ์ฆาตกรรมทางการเมืองที่เกิดขึ้นกับ ‘หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ โต๊ะมีนา’ ผู้นำทางจิตวิญญาณแห่งปัตตานี สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้รับเกียรติจาก คุณเด่น โต๊ะมีนา นักการเมืองชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และผู้ซึ่งเป็นบุตรชายของหะยีสุหลง
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2565
วันนี้ครบรอบ 18 ปีเต็ม ที่การถูกบังคับให้สูญหายยังไม่ได้ถูกรับการแก้ไขหรือเกิดความรับผิดชอบใดๆ ก็ตามจากรัฐไทย จนถึงวันนี้ 18 ปี แต่กลับมีจำนวนบุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และยังไม่มีทีท่าว่าจะเกิดเป็นรายสุดท้าย หรือ ได้พบ "ร่าง" ของบุคคลเหล่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2564
ในทางวิทยาศาสตร์เราบอกว่า วัสดุอะไร จะต้องไม่สูญหายไปจากโลกนี้ ไม่สามารถหายไปได้ แต่จริงๆ แล้วสิ่งที่เกิดขึ้น การที่คนคนหนึ่งถูกบังคับให้หายไป
แนวคิด-ปรัชญา
2
ตุลาคม
2564
การบังคับสูญหายสมชาย นีละไพจิตร เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 ได้เปลี่ยนเรื่องราวการบังคับสูญหายในประเทศไทยให้เป็นที่รับรู้ไปทั่วโลก
Subscribe to การบังคับสูญหาย