ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การปฏิวัติ 2475

แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2564
การขยายตัวของเมืองเมื่อเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ภาวะสมัยใหม่ และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่รวมศูนย์อำนาจการปกครองและเศรษฐกิจเข้าสู่เมืองหลวง ส่งผลไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปร่างหน้าตาและประโยชน์ใช้สอยของอาคาร พื้นที่สาธารณะ ในเขตกรุงเทพชั้นในอย่างใหญ่หลวง
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียง 3 วัน คณะราษฎรก็นำ “พระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม” ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เพื่อให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2564
แทบไม่น่าเชื่อ เพียงราว 2 ปี ภายหลังรัชกาลของพระผู้ทรงสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระผู้ทรงเป็นทุกสิ่งทุกอย่างของสยามได้สิ้นสุดลง
บทบาท-ผลงาน
24
มีนาคม
2563
ประจักษ์ ก้องกีรติ เรื่อง ผมเชื่อว่าผู้อ่านส่วนใหญ่คงเคยได้ยินคำกล่าวที่พูดกันติดหูว่า “ผู้ชนะคือผู้เขียนประวัติศาสตร์” แต่ในสังคมไทยของเรา เรื่องราวกลับไม่ได้ดำเนินไปเช่นนั้น เพราะสิ่งที่เรียกว่า “ประวัติศาสตร์” ซึ่งคือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไปแล้วให้คนรุ่นหลังได้จดจำนั้น ช่างเต็มไปด้วยความยอกย้อนและซ่อนเงื่อน ผู้ชนะในสมรภูมิทางการเมืองบ่อยครั้งกลับพ่ายแพ้ในสมรภูมิการเขียนประวัติศาสตร์
Subscribe to การปฏิวัติ 2475