ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การพัฒนาที่ยั่งยืน

แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2565
พริษฐ์ วัชรสินธุ กล่าวถึง แง่มุมของการศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เป้าหมายที่ 4) ที่กำหนดไว้โดยองค์การสหประชาชาติ ซึ่งหากย้อนกลับไปพิจารณาความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ จะเห็นได้ว่า ความคิดเรื่องการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพนี้ปรากฏอยู่ตั้งแต่ในหลัก 6 ประการของคณะราษฎร และการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2565
ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล ฝ่ายนโยบาย กล่าวถึง "เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน" นั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับหลายๆ เรื่อง โดยขึ้นอยู่กับว่าจะหยิบเป้าหมายดังกล่าวมาพิจารณาในแง่มุมใด และการพัฒนาที่ยั่งยืนจะไม่เกิดขึ้น หากปราศจากประชาธิปไตยสมบูรณ์
แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2565
ผศ.ชล บุนนาค กล่าวถึงความเชื่อมโยงกันระหว่างแผนการพัฒนาที่ยั่งยืนกับประชาธิปไตยสมบูรณ์ โดยหลักการประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดี พนมยงค์นั้น สอดคล้องกับ SDGs เป้าหมายที่ 16 ที่ว่าด้วยเรื่องการมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
19
พฤษภาคม
2565
ตามประกาศเรื่อง ประกวดบทความชิงรางวัล “ทุนปาล พนมยงค์” ประจำปี 2565 หัวข้อ ‘มุมมอง SDGs เพื่อการพัฒนาสู่ประชาธิปไตยสมบูรณ์’ บัดนี้ คณะกรรมการตัดสินประกวดบทความชิงรางวัล "ทุนปาล พนมยงค์" ได้พิจารณาบทความที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 6 ราย แล้ว ปรากฏว่ามีผู้สมควรได้รับรางวัลดังนี้ รางวัลชนะเลิศ เป็นเงิน 15,000 บาท นายอติรุจ ดือเระ ชั้นปี 4 คณะรัฐศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศ เป็นเงิน 10,000 บาท
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2565
ในช่วงที่ผ่านมาประเทศไทยมีการกล่าวถึง “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” หรือ SDGs เป็นจำนวนมาก ทั้งในรูปแบบของชื่อกิจกรรม งานเสวนา และการกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ ในการเปิดงานของหัวหน้าส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐต่างๆ[1] ตามวาระและโอกาส  อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจก็คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นเรื่องที่ถูกกล่าวถึงมากขึ้นในประเทศไทย
Subscribe to การพัฒนาที่ยั่งยืน