ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การศึกษาไทย

แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2564
"สวัสดิการทางสังคม" เป็นโจทย์สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ ซึ่งประกอบไปด้วยการพัฒนาในหลายมิติ ได้แก่ สวัสดิการสำหรับเด็กและครอบครัว สวัสดิการสำหรับคนทำงาน สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ สวัสดิการสำหรับผู้ด้อยโอกาส สวัสดิการรักษาพยาบาล และ สวัสดิการการศึกษา
บทบาท-ผลงาน
22
ธันวาคม
2563
ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน ตั้งข้อสังเกตถึงการศึกษาทางรัฐธรรมนูญที่จะช่วยสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย พร้อมทั้งให้แง่คิดบทเรียนจากชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
15
กันยายน
2563
ในเดือนสิงหาคม 2527 #สายฟ้า หรือ #นายผี อัศนี พลจันทร ได้เขียนบทความรำลึกการจากไปของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนับได้ว่าเป็นงานเขียนชิ้นสุดท้ายของเขา สะท้อนความทรงจำของธรรมศาสตร์บัณฑิตผู้นี้ที่มีต่อผู้ประศาสน์การได้เป็นอย่างดี
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
กรกฎาคม
2563
คือวิญญาณเสรี ชื่อ “ปรีดี พนมยงค์” คือดาวที่ดํารง อยู่คู่ฟ้าสถาวร
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2563
นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร เล่าความทรงจำถึงนายปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยทัศนะทางการศึกษา เมื่อดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทบาท-ผลงาน
24
มีนาคม
2563
ประจักษ์ ก้องกีรติ เรื่อง ผมเชื่อว่าผู้อ่านส่วนใหญ่คงเคยได้ยินคำกล่าวที่พูดกันติดหูว่า “ผู้ชนะคือผู้เขียนประวัติศาสตร์” แต่ในสังคมไทยของเรา เรื่องราวกลับไม่ได้ดำเนินไปเช่นนั้น เพราะสิ่งที่เรียกว่า “ประวัติศาสตร์” ซึ่งคือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับอดีตที่ผ่านพ้นไปแล้วให้คนรุ่นหลังได้จดจำนั้น ช่างเต็มไปด้วยความยอกย้อนและซ่อนเงื่อน ผู้ชนะในสมรภูมิทางการเมืองบ่อยครั้งกลับพ่ายแพ้ในสมรภูมิการเขียนประวัติศาสตร์
Subscribe to การศึกษาไทย