ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2566
“รัฏฐาธิปัตย์” ที่มาจากการรัฐประหารโดยแยกช่วงเวลาออกเป็นสองช่วงคือ ช่วงเวลาที่คณะรัฐประหารใช้อำนาจ รัฏฐาธิปัตย์โดยตรง และ ช่วงเวลาที่ใช้อำนาจรัฏฐาธิปัตย์ในฐานะขององค์กรหรือสถาบันหนึ่งตามรัฐธรรมนูญชั่วคราวของตนเอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
Subscribe to คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ