พระราชบัญญัติ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
สิงหาคม
2566
เมื่อมนุษย์อยู่รวมกันในรัฐก็จำเป็นต้องมีการปกครอง อันเกี่ยวกับการกระทำในการปกครอง เป็นเจตนาของการปกครองซึ่งเกี่ยวข้องกับกฎหมาย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กันยายน
2564
ย้อนกลับไปในช่วงก่อน 6 ตุลาคม 2519 นอกเหนือไปจากขบวนการนิสิต-นักศึกษาแล้ว กลุ่มบุคคลอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญก็คือ “กลุ่มผู้ใช้แรงงาน” ในนามของ สภาแรงงานแห่งประเทศไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to พระราชบัญญัติ
2
มิถุนายน
2563
คำนำ
ผลงานของท่านปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ที่เป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อชาติบ้านเมืองนั้นมีมากมาย และมีผู้เขียนเผยแพร่ไว้มาก แต่ผลงานของท่านเกี่ยวกับการริเริ่มเสริมสร้างอำนาจทางการคลังของรัฐสภา ซึ่งเป็นผลดีต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยังไม่มีใครเขียนมาก่อน เนื่องจากเป็นผลงานที่อยู่ในมุมอับ คือเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเทคนิคการคลังและกฎหมายการคลัง ซึ่งโดยธรรมชาติเป็นเรื่องที่คนทั่วไปเข้าใจยากและเข้าไม่ถึง