ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฏฐาธิปัตย์

แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2566
“รัฏฐาธิปัตย์” ที่มาจากการรัฐประหารโดยแยกช่วงเวลาออกเป็นสองช่วงคือ ช่วงเวลาที่คณะรัฐประหารใช้อำนาจ รัฏฐาธิปัตย์โดยตรง และ ช่วงเวลาที่ใช้อำนาจรัฏฐาธิปัตย์ในฐานะขององค์กรหรือสถาบันหนึ่งตามรัฐธรรมนูญชั่วคราวของตนเอง
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2564
ในทางวิทยาศาสตร์เราบอกว่า วัสดุอะไร จะต้องไม่สูญหายไปจากโลกนี้ ไม่สามารถหายไปได้ แต่จริงๆ แล้วสิ่งที่เกิดขึ้น การที่คนคนหนึ่งถูกบังคับให้หายไป
แนวคิด-ปรัชญา
11
กุมภาพันธ์
2564
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล ได้ให้ข้อเสนอในเรื่องการลบล้างผลพวงของการรัฐประหาร โดยให้มีการจัดทำ "คำประกาศว่าด้วยคุณค่าอันเป็นรากฐานของระบอบเสรีประชาธิปไตย" และ คาดหวังว่าจะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญสำหรับอนาคตที่จะยับยั้งมิให้เกิดการรัฐประหารขึ้นได้อีกต่อไป
Subscribe to รัฏฐาธิปัตย์