ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐธรรมนูญไทย

แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2566
การเมืองของไทยที่เกิดปรากฏการร่วมมือของฟากฝั่งระหว่างพรรคฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่อการเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 อันเป็นความหวังใหม่ของการสร้างสรรคการเมืองใหม่?
แนวคิด-ปรัชญา
4
ธันวาคม
2566
รัฐธรรมนูญของไทยนั้นมีความเฉพาะหรือพิเศษจากการประกาศยกเลิกและประกาศใช้ฉบับใหม่โดยคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจการปกครองอยู่บ่อยครั้ง หรืออาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญไทยแต่ละฉบับมีอายุเฉลี่ยได้เพียง 4.5 ปีเท่านั้น เพราะมักจะถูกรัฐประหารทำให้เกิดการแก้ไข เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2566
ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2566
การแก้ไขปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ด้วยการรื้อถอนมรดกและผลพวงจากเผด็จการอำนาจนิยมของทหารที่ครอบงำการเมืองไทยมาตลอดหลายสิบปี สืบเนื่องมาตั้งแต่รัฐประหารปี 2490 ด้วยการสนับสนุนต่อการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จำเป็นต้องยึดโยงกับประชาชนจึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นในห้วงเวลานี้
แนวคิด-ปรัชญา
13
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นบทบาทของทหารและกองทัพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นต้นแบบในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา เพื่อกำหนดตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพเชิงวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดได้สถาปนาให้ทหารและกองทัพเป็นหนึ่งในขั้วอำนาจที่อยู่คู่กับการเมืองไทยมาตลอดนับตั้งการรัฐประหาร 2490 พร้อมทั้งวิเคราะห์รัฐธรรมนูญในมิติวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2565
พัฒนาการของการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในทางเศรษฐกิจ ผ่านรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ ที่เริ่มต้นนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 อีกทั้งการเกิดขึ้นของบทบัญญัติแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐอันเป็นแนวทางคุ้มครองสิทธิและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทว่า การรัฐประหารได้ทำให้หลักการดังกล่าวนั้นพร่าเลือนลงไป อันเนื่องมาจากความถดถอยของความเป็นประชาธิปไตย
Subscribe to รัฐธรรมนูญไทย