ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2549

แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2566
องค์กรตุลาการอย่าง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ถูกหยิบยกเข้ามาร่วมในสมการทางการเมือง เนื่องจากตลอดระยะเวลานับตั้งแต่การรัฐประหารและความชะงักงันในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา เป็นเวลากว่า 17 ปี ที่สังคมไทยต้องเผชิญกับนิติสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2566
ความท้าทายทางอุดมการณ์ทางการเมือง เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งอำนาจให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมในระบอบประชาธิปไตย ความพยายามในการสร้างระบอบประชาธิปไตยขึ้นผ่านการเลือกตั้ง จึงเป็นการเปลี่ยนผ่านภูมิทัศน์ทางการเมืองจากอำนาจในระบอบเก่า ไปสู่การเมืองใหม่ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2565
รังสิมันต์ โรม นายทุน ขุนศึก ศักดินา และประชาชน PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
Subscribe to รัฐประหาร 2549