ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2564
แม้รัชกาลที่ 7 จะมีการรับสั่งให้ร่างรัฐธรรมนูญ ที่ยังคงมีเนื้อหาที่มุ่งไปสู่การเอื้ออำนวยให้เกิดความชอบธรรมแก่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่แก้ไขใหม่เท่านั้น ในแง่นี้การมีรัฐธรรมนูญจึงไม่เท่ากับการมีประชาธิปไตยด้วย นี่จึงเป็นหนึ่งในบรรดาเหตุผลที่คณะราษฎรเลือกที่จะทำการอภิวัฒน์เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475
2
กรกฎาคม
2563
88 ปีนับจาก พ.ศ. 2475 จนถึง 2563 สามัญชนอยู่ตรงไหนในประชาธิปไตยไทย? คำถามข้างต้นหาคำตอบได้จากหลายแง่มุม ตั้งแต่กฎหมายสูงสุดของประเทศซึ่งแสดงที่ทางของผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่สะท้อนแนวคิดการอยู่ร่วมกัน ไปจนถึงสิ่งปลูกสร้าง
12
มิถุนายน
2563
เนื่องในวาระครบรอบ 88 ปี อภิวัฒน์สยาม 2475 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมงานเสวนาออนไลน์ ในหัวข้อ 88 ปี 2475: ความทรงจำของสามัญชน กำหนดการจัดเสวนาออนไลน์ ในวันพุธที่ 24 มิถุนายน 2563 ตั้งแต่เวลา 13.00-17.30 น. ถ่ายทอดสด (Live) ผ่านทาง Facebook Fanpage สถาบันปรีดี พนมยงค์ https://www.facebook.com/pridibanomyonginstitute
Subscribe to สมชาย ปรีชาศิลปกุล