ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สันติธรรม

แนวคิด-ปรัชญา
19
สิงหาคม
2567
ปัญหาสามจังหวัดชายแดนใต้สั่งสมปัญหามาตั้งแต่กรณีหะหยีสุหลงในทศวรรษ 2490 และการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งนั้นสามารถเชื่อมโยงจากหลักเอกภาพ สันติภาพ สันติธรรมของปรีดี พนมยงค์ที่มีแนวคิดสันติภาพเริ่มต้นมาตั้งแต่สมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
แนวคิด-ปรัชญา
18
สิงหาคม
2567
บทกล่าวนำ หัวข้อสันติธรรมภายใต้ระบบพหุขั้วอำนาจโลก โดย รศ. ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ใน PRIDI Talks #27: 79 ปี วันสันติภาพไทย : “ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษไฟใต้ : เพื่อเส้นทางสู่สันติภาพ” วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 10.30-12.30 น. ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทบาท-ผลงาน
15
มีนาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์พระเจ้าช้างเผือก ได้สรรค์สร้าง "พระเจ้าจักรา" ให้เป็นผู้ปกครองเมืองด้วยหลักสันติธรรม ถึงแม้นว่าจะอยู่ในสภาวะแห่งสงคราม พระมหากษัตริย์อย่างพระเจ้าจักราก็ทรงเลือกใช้หลักแห่งสันติภาพเข้ามาจัดการให้ภัยสงครามผ่านพ้น
บทบาท-ผลงาน
14
มีนาคม
2565
เนื้อหากล่าวถึงแนวคิดสันติวิธีและสันติภาพที่นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์ ได้สอดแทรกไว้ใน "พระเจ้าช้างเผือก" ไม่ว่าจะเป็นตัวบทภาพยนตร์ก็ดี หรือ ตัวละครก็ดี ผ่านการตีความในบริบทต่างๆ อาทิ สันติภาพ : ไม่ใช่การยอมจำนน, สันติวิธี : มุมมองจากศาสนาพุทธ และ สันติภาพเชิงโครงสร้าง : หนทางสู่สันติภาพในสังคม เป็นต้น
23
กันยายน
2563
รายละเอียดโครงการ PRIDI TALKS ครั้งที่ 6 จากหนักแผ่นดินสู่โรคชังชาติ: ชาติ ความเป็นไทย และประชาธิปไตยที่แปรผัน กำหนดการ งานรำลึกครบรอบ "44 ปี 6 ตุลาฯ 16" ประมวลภาพกิจกรรม เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง PRIDI Talks #6 "จากหนักแผ่นดินสู่โรคชังชาติ: ชาติ ความเป็นไทยและประชาธิปไตยที่แปรผัน" วิดิโอการอภิปรายสาธารณะ PRIDI Talks #6 "จากหนักแผ่นดินสู่โรคชังชาติ: ชาติ ความเป็นไทยและประชาธิปไตยที่แปรผัน" เหตุการณ์ล้อมปราบนักศึกษาและประชาชนภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ
Subscribe to สันติธรรม