ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลักเอกราช

บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2565
ภายใต้รัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีชื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา “นโยบายสันติภาพ” มีฐานะเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย “หลักเอกราช” อันเป็นหนึ่งในหลักหกประการของคณะราษฎร เหตุที่เรื่องนี้กลายมาเป็นเรื่องหลักของรัฐบาล เนื่องมาจาก ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่เสมือนคำมั่นสัญญากับประชาชนนั้น ผู้ก่อการได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการสูญเสียเอกราชของประเทศ ที่ต้องเร่งกอบกู้โดยเร็ว
แนวคิด-ปรัชญา
28
มีนาคม
2565
"เอกราชในทัศนะของคณะราษฎร" นั้น มีความหมายกว้างกว่าการปักปันอาณาเขต หรือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และในโลกทัศน์ของปรีดียังแสดงให้เห็นว่าผลประโยชน์จากเอกราชต้องเป็นประโยชน์ต่อราษฎรอันสอดรับกับงานเขียนสมัยนั้นที่มักจะสะกด "เอกราช" เป็น "เอกราษฎร์" อย่างมีนัยยะสำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2564
'อิทธิพล โคตะมี' จะพาเราไปรู้จักกับหนังสือที่ชื่อว่า “โมฆสงคราม: บันทึกสัจจะประวัติศาสตร์ที่ยังไม่เคยเปิดเผยของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์” ซึ่งเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์จากบันทึกของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
Subscribe to หลักเอกราช