ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อนุรักษนิยม

แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2566
การเมืองของไทยที่เกิดปรากฏการร่วมมือของฟากฝั่งระหว่างพรรคฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่อการเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 อันเป็นความหวังใหม่ของการสร้างสรรคการเมืองใหม่?
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2566
หนึ่งในปัจจัยสำคัญและแสนยากเข็ญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองคือ การเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับบุคคลที่จะเปลี่ยนความเชื่อหรือฟากฝั่งที่ตนยึดถือมาตลอด โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ผูกพันกับความเชื่อดังกล่าว โดยเฉพาะชนชั้นนำอนุรักษนิยม
24
มิถุนายน
2565
๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มีความสำคัญเพียงใดต่อประเทศชาติ ประชาชนและประชาธิปไตย เป็นสิ่งที่มีการถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันมานาน ด้วยจุดยืนทางการเมือง อคติทางการเมืองและผลประโยชน์ที่แตกต่างกันไป ข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว จึงมีลักษณะของ “คำประกาศ” ของแต่ละฝ่ายมากกว่าเหตุผลหรือหลักฐานข้อเท็จจริง 
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤศจิกายน
2564
ในพรมแดนของการแสดงออกทางศิลปะร่วมสมัยนั้น ศิลปะการละครมักจะสามารถยืนอยู่ในมุมที่นำเสนอทางเลือกที่แปลกใหม่ให้กับผู้ชมได้เสมอ ท่ามกลางบรรยากาศของการถูกกำกับควบคุมโดยกลไกของรัฐบางอย่าง
Subscribe to อนุรักษนิยม