ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อำนาจบริหาร

แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2566
การแบ่งแยกอำนาจบริหารบางอย่างออกจากรัฐบาลกลางเพื่อให้ท้องถิ่นจัดทำเอง (มัธยวิภาค: Décentralisation) จะอยู่ในอำนาจของคณะบุคคลที่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ เลือกตั้งขึ้น โดยอาศัยระเบียบการปกครองท้องถิ่นที่อาจกระทำได้โดย (ก) การอนุญาตจากรัฐบาลกลางให้แก่ชุมนุมชนเป็นแห่งๆ มิใช่มีขึ้นตามสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นเอง และ (ข) การมีขึ้นโดยสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นๆ เอง
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2566
อำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ทำการแทนรัฐบาลกลางในช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7 ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนลักษณะการบริหารบางประการ และอำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ผู้แทนกระทรวงทบวงการซึ่งได้ประจำอยู่ตามมณฑลต่างๆ ภายในรัฐ
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2566
ระเบียบแบบแผนการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งของรัฐบาลรวมศูนย์ของประเทศไทยครั้งยังอยู่ในการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ที่มีการปรับปรุงระบบราชการ เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2566
ในประเทศที่อาณาเขตกว้างขวางและมีประชากรพลเมืองอยู่มากในการบริหารราชการส่วนกลางอาจมิได้ตอบโจทย์เสียงทั้งหมด เนื่องจากกิจการบางประการพลเมืองอาจมีส่วนได้ประโยชน์เหมือนกัน หรือกิจการบางประการพลเมืองก็อาจมีส่วนได้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน ฉะนั้นเพื่อให้ทั่วถึง ครอบคลุม และเหมาะสมแก่พลเมืองในทุกๆ พื้นที่ การกระจายอำนาจจึงเป็นสิ่งสำคัญ
Subscribe to อำนาจบริหาร