ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี

บทบาท-ผลงาน
4
กรกฎาคม
2567
ข้อ 7. ของบันทึกประกอบคำประท้วงของปรีดี พนมยงค์ มี 3 ประเด็นที่นายปรีดี โต้แย้งหนังสือของนายประยูร ภมรมนตรี ได้แก่ 1. ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินซึ่งผู้แทนคณะราษฎรได้ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอพระราชทานนั้นยังคงมี “เสนาบดี” หรือไม่? ประเด็น 2. พระยาทรงสุรเดชได้กำชับปรีดีให้ร่างรัฐธรรมนูญตามแบบอังกฤษหรือไม่ ประเด็น 3. พล.ท.ประยูรฯ ปฏิเสธว่าไม่ได้รู้เห็นด้วยในการร่างรัฐธรรมนูญนั้นฟังว่าเอาเป็นจริงได้หรือ
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ถึงวันที่ 11 เมษายน 2476 และมีส่วนสำคัญในการวางรากฐานงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
3
ธันวาคม
2566
เล่าถึงชีวประวัติของท่านอาจารย์ ปรีดี พนมยงค์ ในบทบาทเมื่อครั้งเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรก นับแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองในนาม “คณะราษฎร”
แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
กรกฎาคม
2565
นายสุภา ศิริมานนท์ ผู้เป็นกัลยาณมิตร (15 กรกฎาคม 2457 - 15 มีนาคม 2529)
Subscribe to เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี